|
ผลงานทางวิชาการ/ผลงานวิจัยและประสบการณ์
1.ตำรา/เอกสารประกอบการสอน
1.1 ตำรา สารประกอบโคออร์ดิเนชัน (2549)
1.2 เอกสารประกอบการสอน ปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์ 2 (2549)
1.3 เอกสารประกอบการสอน ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 2 (2552)
1.4 เอกสารประกอบการสอน ปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์ 1 (2556)
1.5 เอกสารคำสอน การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 1 (2558)
1.6 บทความวิชาการ อนุมูลอิสระและสารต้านอนุมูลอิสระ วารสารวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 สิงหาคม 2551
1.7 บทความวิชาการ วิตามินต้านอนุมูลอิสระ วารสารวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 สิงหาคม 2553
1.8 ตำรา ปฏิบัติการการวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 1 (2560)1.9 ตำรา การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ (2560)
2.ผลงานวิจัย
2.1 การสกัดเคอร์คูมินจากขมิ้น (2544)
2.2 ความพึงพอใจและความคาดหวังของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนการสอนของคณะวิทยาศาสตร์(2548)
2.3 การตรวจสอบและบ่งชี้ชนิดสารต้านออกซิเดชันจากพืชสมุนไพรบางชนิด (2548)
2.4 การตั้งตำรับครีมต้านการอักเสบจากใบสิบสองราศี (2552)
2.5 ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระและปริมาณสารฟีนอลิกทั้งหมดของสารสกัดจากใบสิบสองราศี วารสารวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 สิงหาคม 2555
2.6 ฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน ต้านการอักเสบและต้านมะเร็งจากใบสิบสองราศี.ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏสุราษฎร์ธานีวิจัย ครั้งที่ 9 วันที่ 21-22 พฤศจิกายน 2556
2.7 ฤทธิ์ทางชีวภาพและการตรวจสารพฤกษเคมีเบื้องต้นจากใบสิบสองราศี ในการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ศึกษาเพื่อสร้างแรงบันดาลใจสู่นวัตกรรม ครั้งที่ 1 วันที่ 5-6 กันยายน 2557
2.8 พิชิต สุดตา วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล นันท์ภัส สุวรรณสินธุ์. (2558). สารพฤกษเคมี และฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งของพืชสกุล Capparis บางชนิด. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ งานประชุมวิชาการราชภัฏรำไพพรรณี ครั้งที่ 9. มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จังหวัดจันทบุรี 2558.
2.9 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล ชุลี สัมพดาม ณัฐฐินันท์ แย้มพุกและจิรพร กิติยายาม. (2559). ฤทธิ์ต้านออกซิเดชันและสารพฤกษเคมีเบื้องต้นของในเชอร์รี่. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 8. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จังหวัดนครปฐม 2559.
2.10 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล สุดารัตน์ รนทะพาน สโรชา ภู่ระย้าและชลนที สุนเจริญ. (2559). ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและสารพฤกษเคมีของหญ้าคา. รายงานสืบเนื่องการประชุมระดับชาติ ราชภัฏเพชรบุรีวิจัย ครั้งที่ 6 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี 2559.
2.11 ช่อทิพย์ หอมชื่น เบญจวรรณ หินแก้ว ศิริลักษณ์ อาสน์แก้ว วัชราภรณ์ ประภาสะโนบลและพิชิต สุดตา. (2560). สารพฤกษเคมี ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและความเป็นพิษต่อเซลล์ของงัวซัง รายงานสืบเนื่องการประชุมระดับชาติ ราชภัฏเพชรบุรีวิจัย ครั้งที่ 7 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี 2560
2.12 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล. (2560). ฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งและฤทธิ์ต้านจุลชีพของสารสกัดใบเชอร์รี. วารสารวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2560 (TCI กลุ่ม 2)
2.13 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบลและพิชิต สุดตา. (2560). ฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน ปริมาณฟีนอลิก ฟลาโวนอยด์และแอลคาลอยด์ของสารสกัดลำต้นนกกระลิงแดง. วารสารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 3 ปีที่ 45 (กรกฎาคม-กันยายน 2560) (TCI กลุ่ม 1)
2.14 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล. (2561). ฤทธิ์ทางชีวภาพและการตรวจสารพฤกษเคมีเบื้องต้นของรากสิบสองราศี. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ฉบับที่ 10 ปีที่ 11 (มกราคม-มิถุนายน 2561) (TCI กลุ่ม 1)
2.15 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล ระวิวรรณ ขันสิงห์และศศิวิมล รอดพ้น. (2561). ปริมาณสารพฤกษเคมีและฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของหญ้าคา. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 10. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จังหวัดนครปฐม 2561.
2.16 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล เชษฐ์สุดา ผ่องดี วัชราวลี สมใจและธนาวดี แจ่มแจ้ง. (2561). ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ความเป็นพิษต่อเซลล์และสารพฤกษเคมีของงัวเลีย. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6 . มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสมุทรปราการ 2561.
2.17 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล ดวงฤทัย จันทร์อินทร์ อินธุอร จำเนียรสุขและณรงค์ วงษ์พานิช. (2561). การศึกษาศักยภาพการผลิตกระดาษจากหญ้าคา. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 5”. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี 2561.
2.18 ธนพร นิลทอง วันวิสาข์ ศรีนันท์และวัชราภรณ์ ประภาสะโนบล. (2561). สารพฤกษเคมีและฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของสารสกัดพืชวงศ์กาฝาก. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 5”. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี 2561.
2.19 ปนัดดา อ่อนนุ่ม อินทิมา มิตรดีและวัชราภรณ์ ประภาสะโนบล. (2561). การสกัดแทนนินและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจากเปลือกผลไม้บางชนิด. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 5”. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี 2561.
2.20 พีระพงษ์ แดงสะอาด สรรเสริญ อาจขาว วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล พิชิต สุดตา. (2562). สารพฤกษเคมี ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและความเป็นพิษต่อเซลล์ของพุงแกรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏเลยวิชาการ ครั้งที่ 5” มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย จังหวัดเลย.
2.21 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล จันทนา ก่อนเก่า กมลพร ประเสริฐพันธ์ ภัทธิรา อินพรมและเอกรินทร์ ราชพลแสน.(2562). การศึกษาสารพฤกษเคมี ปริมาณฟีนอลิกและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของจาวตาล การประชุมสวนสุนันทาวิชาการ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 2.วันที่ 8 พฤศจิกายน 2562. (ภาคบรรยาย) กรุงเทพฯ. 4(98-105). (นักศึกษาได้รับรางวัล Best Oral Presentation).
2.22 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล เพ็ชรน้ำหนึ่ง ทองพิมพ์ โสภิตา แสงจันทร์ ธีวรา วรรณโชติ และชนิดา ศรีสาคร. (2563). การวิเคราะห์หาคุณค่าทางโภชนาการของจาวตาลการประชุมวิชาการระดับชาติราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงวิจัย ครั้งที่ 8. วันที่ 1 มีนาคม 2563. (ภาคบรรยาย) มหาวิทยาลัยหมู่บ้านจอมบึง.1857-1863.
2.23 สุธิดา ทองคำ วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล วัลลี นวลหอม ดวงเดือน วรรณกูลและมาเรียม นิลพันธุ์. (2563).คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของนักศึกษาครุศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 21. วันที่ 27 มีนาคม 2563. (ภาคบรรยาย) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
2.24 Nualhom, W., Thongkam, S., Prapasanobol, V., Wanakool, D. & Nillapun, M. (2020). The Desirable Characteristics of Graduates of Bachelor of Education Program in Social Studies at Rajabhat University. PUPIL: International Journal of Teaching, Education and Learning, 4(2), 317-331.(https://grdspublishing.org/index.php/pupil) [13th ICTEL 2020 – International Conference on Teaching, Education & Learning, 13-14 July, Bangkok. (Oral Presentation)].
2.25 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล อุบลวรรณ ส่งเสริมและมาเรียม นิลพันธุ์. (2564). รูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อพัฒนา ทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรมของนักศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์, 36(1), มกราคม-เมษายน 2564.(รอเผยแพร่)(TCI กลุ่ม 2).
2.26 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล สุธิดา ทองคำ และมาเรียม นิลพันธุ์. (2565). การพัฒนาหลักสูตรออนไลน์เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการออกแบบการวิจัยในชั้นเรียนสำหรับนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 24(2), เมษายน-มิถุนายน 2565.(รอเผยแพร่)(TCI กลุ่ม 1).
2.27 สุธิดา ทองคำ วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล ชนสิทธิ์ สิทธิ์สูงเนินและมาเรียม นิลพันธ์. (2565). รูปแบบการบริหารหลักสูตรเพื่อผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติและสร้างสรรค์นวัตกรรม. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์, 37(1), มกราคม-เมษายน 2565. (รอเผยแพร่)(TCI กลุ่ม 2).
2.28 สุกิจ หล้าแหล่งและวัชราภรณ์ ประภาสะโนบล. (2564). การตรวจหาสารพฤกษเคมีเบื้องต้น ปริมาณฟีนอลิกและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของก้านใบเลี้ยงตาลโตนด. การประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีครั้งที่ 5 (NCOST5) วันที่ 15-16 มกราคม 2564. (ภาคบรรยาย). คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชมงคลสุวรรณภูมิ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. (pp1196-1203).
2.29 พิภูษา นิลดำ วันทนีย์ งามคง อินทิรา งามคงและวัชราภรณ์ ประภาสะโนบล. (2564). ปริมาณสารพฤกษเคมีของก้านใบเลี้ยงตาลโตนด. การประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีครั้งที่ 5 (NCOST5) วันที่ 15-16 มกราคม 2564. (ภาคบรรยาย). คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชมงคลสุวรรณภูมิ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. (pp1209-1214)
2.30 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบลและอุบลวรรณ ส่งเสริม. (2564). การพัฒนาทักษะการทำงานร่วมกันและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาสาขาวิชาเคมีด้วยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 11 (2), pp 22-30 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2564) (TCI กลุ่ม 2)
2.31 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล และมาเรียม นิลพันธุ์. (2564). การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน. วารสารวิจัยและพัฒนาหลักสูตร, 11(2), pp 8-23 (กรกฏาคม-ธันวาคม 2564)(TCI กลุ่ม 1)
2.32 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล จันทนา ก่อนเก่า ชนิดา ศรีสาคร และอรุณี แก้วบริสุทธิ์. (2564). การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของจาวตาลโตนดในจังหวัดเพชรบุรี. วารสารวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 18(2),(pp. 17-24) (กรกฏาคม-ธันวาคม 2564) (TCI กลุ่ม 2).
2.33 สกุลรัตน์ คิดอยู่ วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล เวธกา เช้าเจริญและพูนศิริ ทิพย์เนตร. (2564). การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานร่วมกับเทคนิคการให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ เรื่องสารโคเวเลนต์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดจันทราวาส (ศุขประสารราษฎร์). การประชุมวิชาการครุศาสตร์วิชาการครั้งที่ 12 เสนอ. วันที่ 26 ธันวาคม 2564. (ภาคบรรยาย) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.
2.34 ชญานี ทางมีศรี วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล เวธกา เช้าเจริญและพูนศิริ ทิพย์เนตร. (2564). การใช้ใบงานออนไลน์เพื่อแก้ปัญหาการส่งงานในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดจันทราวาส (ศุขประสารราษฎร์) จังหวัดเพชรบุรี. การประชุมวิชาการครุศาสตร์วิชาการครั้งที่ 12 เสนอ. วันที่ 26 ธันวาคม 2564. (ภาคบรรยาย) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.
2.35 พัสวี สว่างใจ วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล สุธิดา ทองคำและเวธกา เช้าเจริญ. (2564). การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานร่วมกับแอพพลิเคชันตารางธาตุเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้วิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านลาดวิทยา. การประชุมวิชาการครุศาสตร์วิชาการครั้งที่ 12 เสนอ. วันที่ 26 ธันวาคม 2564. (ภาคบรรยาย) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. บทความวิจัยได้รับคัดเลือกให้ตีพิมพ์ในวารสารนาคบุตรปริทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 15(2), pp (พฤษภาคม-สิงหาคม 2566)(TCI กลุ่ม 1)
2.36. อัญญารัตน์ เข็มกลัด สุนิสา พ่วงสุข เวธกา เข้าเจริญ วัชราภรณ์ ประภาสะโนบลและสุธิดา ทองคำ. (2565). การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นร่วมกับการใช้ผังมโนทัศน์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสุวรรณรังสฤษฏ์วิทยาลัย จังหวัดเพชรบุรี. การประชุมวิชาการระดับชาติ การนำเสนอผลงานวิจัยของนักศึกษา สาขาการศึกษาระดับปริญญาตรีครั้งที่ 4 (ผ่านระบบออนไลน์) ในวันที่ 18 มีนาคม 2565 (ภาคบรรยาย). คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. (p.816-824).
2.37 อินทิรา งามคง กนัษมณ งามระหงส์ อารีวงศ์ วัชราภรณ์ ประภาสะโนบลและเวธกา เช้าเจริญ.(2565). การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ทางเคมีและทักษะการแก้ปัญหา เรื่อง พันธะไอออนิก ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนคงคารามจังหวัดเพชรบุรี. การประชุมวิชาการระดับชาติ การนำเสนอผลงานวิจัยของนักศึกษา สาขาการศึกษาระดับปริญญาตรีครั้งที่ 4 (ผ่านระบบออนไลน์) ในวันที่ 18 มีนาคม 2565 (ภาคบรรยาย). คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. (p.825-832).
2.38 พิชญา จันทรวงษ์ วริศรา สิทธชัย ทัศนีย์ คำใหญ่ พูนศิริ ทิพย์เนตร สุธิดา ทองคำ วัชราภรณ์ ประภาสะโนบลและเวธกา เช้าเจริญ. (2565). การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น ร่วมกับเกมวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. การประชุมวิชาการระดับชาติ การนำเสนอผลงานวิจัยของนักศึกษา สาขาการศึกษาระดับปริญญาตรีครั้งที่ 4 (ผ่านระบบออนไลน์) ในวันที่ 18 มีนาคม 2565 (ภาคบรรยาย). คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. (p.833-844).
2.39 สุธิดา ทองคำ วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล วรรณา วัฒนา ชนิดา ศรีสาครและอรุณี แก้วบริสุทธิ์. (2565). การพัฒนาหลักสูตรพัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน ผ่านการจัดค่ายวิชาการแบบบูรณาการ: กรณีศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านเขาจ้าว อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 37 (2), pp. (พฤษภาคม-สิงหาคม 2565). (TCI กลุ่ม 2)
2.40 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล ถวิล หวังกุ่ม สุธิดา ทองคำ กรองทิพย์ พึ่งสุข ศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัย อุบลวรรณ ส่งเสริมและชนสิทธิ์ สิทธิ์สูงเนิน. (2566). รูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณลักษณะการคิดอย่างมีวิจารณญาณสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 25 (3), pp (กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๖๖) (TCI กลุ่ม 1)
3.ประสบการณ์ทำงาน
พ.ศ. 2542 – ปัจจุบัน อาจารย์ประจำสาขาวิชาเคมี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
พ.ศ. 2545 – 2547 หัวหน้าฝ่ายหลักสูตรและแผนการเรียน สำนักส่งเสริมวิชาการ สถาบันราชภัฏเพชรบุรี
พ.ศ. 2549 – 2551 ประธานสาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
พ.ศ. 2552 – 2555 ประธานหลักสูตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
พ.ศ.2556-2557 กรรมการสภาวิชาการ
พ.ศ.2555-2560 คณะกรรมการประจำคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
พ.ศ.2561 – มีนาคม 2562 ประธานสาขาเคมี
พ.ศ.2561-ปัจจุบัน เป็นผู้ประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (ขึ้นบัญชีของ สกอ.)
4. ประสบการณ์การสอน/วิชาที่เคยสอน
4.1 เคมีอนินทรีย์ 1 และปฏิบัติการ
4.2 เคมีอนินทรีย์ 2 และปฏิบัติการ
4.3 การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 1 และปฏิบัติการ
4.4 สเปกโทรสโกปีสำหรับสารอินทรีย์
4.5 เคมีอินทรีย์พื้นฐาน
4.6 ชีวเคมีพื้นฐาน
4.7 โครงการวิจัยทางเคมี
4.8 เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ
4.9 เคมีอินทรีย์ 2 และปฏิบัติการ
4.10 การจัดการเรียนรู้ด้านเคมี
4.11 สัมมนาเคมี
4.12 เคมีพื้นฐาน
4.13 เคมีการประกอบอาหาร
4.14 เคมีพื้นฐานสำหรับครู
4.15 การวิจัยเคมี