|
1. ประสบการณ์การทำงาน
ด้าน | รายละเอียด | หมายเหตุ (เช่นระบุ ปีพ.ศ. หรือสถานที่) |
ประสบการณ์การทำงาน | ครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้น ป.4-6
| โรงเรียนอนุบาลสุดา จ.หนองบัวลำภู ปี พ.ศ. 2545 |
| ผู้ช่วยวิจัย (Research Assistant)
| ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี พ.ศ. 2550-2553 |
| ผู้ช่วยสอน (Teacher Assistant) วิชาปฏิบัติการพื้นฐานทางชีววิทยา, แลบปฏิบัติการชีววิทยาโมเลกุลของพืช, ระเบียบวิธีวิจัย | ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปี พ.ศ. 2558 |
| อาจารย์ผู้สอน | มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี ปี 2558 – ปัจจุบัน |
2.การฝึกอบรม
การฝึกอบรม | 1. เข้าร่วมการประชุมวิชาการดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดโดย สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 5 กรมพัฒนาที่ดิน | โรงแรมพลูแมน ราชาออคิด จ. ขอนแก่น ระหว่าง วันที่ 11–13 มิถุนายน 2556 |
| 2. เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “เทคนิควิจัยเพื่อศึกษาทรัพยากรทางชีวภาพ” | ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ระหว่างวันที่ 3-4 พฤษภาคม 2555 |
| 3. เข้าร่วมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ในโครงการ “Basic Data Manipulation with R: from Experimental Data to Biological Meanings” | ห้องประชุมชั้น 2 สถาบันวิจัยวลัยรุกขเวช มหาวิทยาลัย มหาสารคาม ระหว่างวันที่ 24-26 กรกฎาคม 2555 |
| 4. เข้าร่วมกิจกรรมเป็นนักศึกษาผู้ช่วยสอนรายวิชาปฏิบัติการพื้นฐานทางชีววิทยา ของนักศึกษาระกับปริญญาเอก ชั้นปีที่ 1
| ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553- 20 มกราคม 2554 |
| 5. เข้าร่วมอบรมการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง “Technique for Manuscript Preparation” | คณะวิทยาศาสตร์และฝ่ายวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในวันที่ 26 มกราคม 2554 |
| 6. เป็นวิทยากรโครงการห้องปฏิบัติการชีววิทยาเคลื่อนที่ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภายใต้โครงการบริการวิชาการแก่สังคม ประจำปีงบประมาณ 2554 | โรงเรียนบ้านแฮดศึกษา อ.บ้านแฮด จ.ขอนแก่น ระหว่างวันที่ 17-18 ธันวาคม 2554 |
3.ความเชี่ยวชาญ/วิชาที่สอน
ความเชี่ยวชาญ /วิชาที่สอน | ความเชี่ยวชาญ สรีรวิทยาพืช (Plant Physiology) ชีววิทยาโมเลกุลพืช (Plant Molecular Biology) วิชาที่สอน ชีวิทยาพื้นฐาน ชีววิทยา 2 ชีววิทยาเชิงอนุรักษ์ ชีวิทยาของเซลล์ สรีรวิทยา การนำเสนอโครงงานวิจัย สัมมนา | 2558 – ปัจจุบัน |
4.ผลงานทางวิชาการ
ประเภทผลงาน (งานวิจัย/บทความทางวิชาการ/หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอน) | ชื่อผลงาน | ข้อมูลรายละเอียด |
บทความทางวิชาการระดับนานาชาติ | Chunthaburee, S., Dongsansuk, A., Sanitchon, J., Pattanagul, W. and Theerakulpisut, P. 2016. Physiological and biochemical parameters for evaluation and clustering of rice Cultivars differing in salt tolerance at seedling stage. | Saudi Journal of Biological Sciences. 23(4): 467-477.
|
| Chunthaburee, S., Sanitchon, J., Pattanagul, W. and Theerakulpisut, P. 2015. Effects of salt stress after late booting stage on yield and antioxidant capacity in pigmented rice grains and alleviation of the salt-induced yield reduction by exogenous spermidine. | Plant Production Science. 18(1): 32-42. |
| Chunthaburee, S., Sanitchon, J., Pattanagul, W. and Theerakulpisut, P. 2014. Alleviation of salt stress in seedlings of black glutinous rice by seed priming with spermidine and gibberellic acid. | Notulae Botanicae Horti Agrobotanici. 42(2): 405-413.
|
| Chunthaburee, S., Sanitchon, J., Pattanagul, W. and Theerakulpisut, P. 2015. Application of exogenous spermidine for improving salt tolerance rice at the seedling and reproductive stages. | Procedia Environmental ciences. 29: 134 |
การนำเสนอแบบโปสเตอร์ | Chunthaburee, S., Sanitchon , J., Pattanagul, W. and Threerakulpisut, P. 2015. Application of exogenous spermidine for improving salt tolerance rice at the seedling and reproductive stages. | In: Agriculture and Climate Change 2015: Adapting crops to increased uncertainty. NH Grand Krasnapolsky Hotel, Amsterdam, The Netherlands, 15-17 February 2015. |
| Theerakulpisut, P., Sanitchon, J., Pattanagul, .W, Chunthaburee, S., Nounjan, N., Saleethong, P., Punwong, B., Nasaroh, C., Nasa-arn, J. and Madee, P. 2015. Traditional methods to alleviate salt induced damages in rice. | In “Research for Social Devotion” In Commemoration of the 50th Anniversary of Khon Kaen University, Thailand, 22-23 January 2015.
|
| Chunthaburee, S., Sanitchon, J., Pattanagul, W. and Theerakulpisut, P. 2012. Salinity tolerance of black glutinous rice seedlings is related to Na+/K+ and proline but not the anthocyanin content.
| In: The 12th SABRAO Congress on Plant breeding towards 2025: Challenges in a Rapidly Changing World, The Empress Chiang Mai hotel, Chiang Mai, Thailand, 13-14 January 2012. |
| Theerakulpisut, P., Techawongstien, S., Sanitchon, J., Boonpeung, J. and Chunthaburee, S. 2009. Genetic diversity of Casicum annuum L., C. frutescens L. and C. chinense Jecquin based on microsatellite and RAPD markerss.
| In: Agricultural Biotechnology International Conference: Agricultural Biotechnology for Better Living and a Clean Environment: 155 p. Queen Sirikit National Convention Center, Bangkok, Thailand. |
| สุมิตานันท์ จันทะบุรี วัฒนา พัฒนากูล จิรวัฒน์ สนิทชน ปิยะดา ธีระกุลพิศุทธิ์. 2555. ผลของ สเปอร์มิดีนต่อผลผลิตข้าวที่ได้รับความเครียดเกลือ. | การประชุมวิชาการข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ 2, โรงแรมสวิสโซเทล เลอ คองคอร์ด กรุงเทพมหานคร, 21-23 ธันวาคม 2555.
|
| ปัญญา มาดี สุมิตานันท์ จันทะบุรี วัฒนา พัฒนากูล จิรวัฒน์ สนิทชน ปิยะดา ธีระกุลพิศุทธิ์. 2555. ผลของการฉีดพ่นสเปอร์มิดีนต่อคลอโรฟิลล์ฟลูออเรสเซนส์ ปริมาณโพรลีนและการรั่วไหลของอิเล็กโทรไลต์ของใบข้าวเหนียวดำภายใต้สภาวะเค็ม. | การประชุมวิชาการข้าวแห่งชาติ ครั้งที่ 2, โรงแรมสวิสโซเทล เลอ คองคอร์ด กรุงเทพมหานคร, 21-23 ธันวาคม 2555.
|
| สุมิตานันท์ จันทะบุรี, บุญสนอง ช่วยแก้ว, วุฒิชัย ฤทธิ, ญาณพัฒน์ พรมประสิทธิ์ และ ศิริวรรจันทร์ เรือง. 2559. ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเมล็ด ข้าวไร่พันธุ์พื้นเมือง อำเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวัดเพชรบุรี. | การประชุมวิชาการพฤกษศาสตร์แห่ง ประเทศไทย ครั้งที่ 10: 121.
|
| บุญสนอง ช่วยแก้ว, วุฒิชัย ฤทธิ, สุมิตานันท์ จันทะบุรี, ญาณพัฒน์ พรมประสิทธิ์, คงฤทธิ์ ติณะรัตน์, ไกรฤกษ์ ทวีเชื้อ, สุนิสา สูงตัง และชนกพร จีนสีคง. 2559. พฤกษศาสตร์พื้นบ้านของชาวกะเหรี่ยง ตำบลยางน้ำกลัดเหนือ อำเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวัดเพชรบุรี. | การประชุมวิชาการพฤกษศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10: 237. |
| วุฒิชัย ฤทธิ, บุญสนอง ช่วยแก้ว, ญาณพัฒน์ พรมประสิทธิ์, สุมิตานันท์ จันทะบุรี, กชกร ช่วยพัฒน์, วราพร ชูเส้นผม และเมธา ขันเงิน. 2559. ความหลากหลายของผักพื้นบ้านในตำบลโพไร่หวาน อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี. | การประชุมวิชาการชมรมคณะปฏิบัติงานวิทยาการ อพ.สธ. ครั้งที่ 7: 232 – 237. |