ประธานสาขาวิชา | ||
![]() ผศ.จันทร์วดี ไทรทอง อาจารย์ประจำสาขาวิชา | ![]() ผศ.ธีรพิทย์ โต้ตอบ อาจารย์ประจำสาขาวิชา | |
![]() ผศ.สุวรรณ จันทร์แจ่มใส อาจารย์ประจำสาขาวิชา | ![]() อ.ปิยวัฒน์ เนียมมาลัย อาจารย์ประจำสาขาวิิชา | |
| ![]() อ.กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล อาจารย์ประจำสาขาวิชา | |
ผศ.เมษิยา แย้มเจริญกิจ | ||
Latest News
ชื่อหลักสูตร
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาหารและโภชนาการประยุกต์
Bachelor of Science Program in (Applied Food and Nutrition)
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็ม : วิทยาศาสตรบัณฑิต (อาหารและโภชนาการประยุกต์)
: Bachelor of Science (Applied Food and Nutrition)
ชื่อย่อ : วท.บ. (อาหารและโภชนาการประยุกต์)
: B.Sc.(Applied Food and Nutrition)
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : ไม่น้อยกว่า 136 หน่วยกิต
กิจกรรมเสริมหลักสูตร : ศึกษาดูงาน อบรมอาหารไทย ประกวดโครงการต่างๆ
การจัดการศึกษา : เปิดสอนภาคปกติ
ระยะเวลาตลอดหลักสูตร : 4 ปี (8 ภาคการศึกษา)
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร : 88,000 บาท
โครงสร้างหลักสูตร :
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
• กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร
• กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
• กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
• กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า100 หน่วยกิต
• วิชาแกน 40 หน่วยกิต
• วิชาเฉพาะบังคับ 40 หน่วยกิต
• วิชาเฉพาะเลือก 20 หน่วยกิต
3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
ตัวอย่างรายวิชาที่เรียน | |
– เทคโนโลยีการถนอมอาหารและการแปรรูป | – อาหารบำบัดโรค |
– การประกอบอาหารไทย | – การจัดอาหารและการบริการ |
– โภชนาการมนุษย์ | – การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพวิทยาศาสตร์ |
– การผลิตขนมไทย | – อาหารประยุกต์และการบริการ |
– อาหารหวานเมืองเพชร | – การฝึกประสบการณ์วิชาชีพวิทยาศาสตร์ |
– หลักการประกอบอาหารนานาชาติ | – สัมมนาวิทยาศาสตร์อาหารประยุกต์และการบริการ |
– การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและการประเมิน คุณภาพโดยประสาทสัมผัส | – การวิจัยวิทยาศาสตร์อาหารประยุกต์และการบริการ |
– หลักการประกอบอาหารท้องถิ่น |
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
1. สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
บัณฑิตสาขาวิชาคณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ทำงานอะไรได้บ้าง ?
1. โรงแรม
2. โรงพยาบาล
3. โรงงานอุตสาหกรรมด้าอาหาร
4. ครู/อาจารย์
5. อาชีพอิสระ เช่น ร้านอาหาร ร้านดอกไม้
6. การบินไทย
7. ตำรวจ (ครู ตชด.)
ชื่อหลักสูตร
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยาประยุกต์
Bachelor of Science in Applied Biology
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็ม : วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยาประยุกต์)
: Bachelor of Science (Applied Biology)
ชื่อย่อ : วท.บ. (ชีววิทยาประยุกต์)
: B.Sc. (Applied Biology)
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : ไม่น้อยกว่า 139 หน่วยกิต
กิจกรรมเสริมหลักสูตร : ศึกษาดูงานและฝึกงานในสถานประกอบการของรัฐและเอกชน ผู้ช่วยวิทยากรในการอบรมความรู้ให้ครูและนักเรียน การเพาะเลี้ยงเห็ด การผลิตผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์
การจัดการศึกษา : เปิดสอนภาคปกติ
ระยะเวลาตลอดหลักสูตร : 4 ปี (8 ภาคการศึกษา)
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร : 70,000 – 96,000 บาท
โครงสร้างหลักสูตร :
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
• กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร
• กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
• กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
• กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า 103 หน่วยกิต
• วิชาแกน 33 หน่วยกิต
• วิชาเฉพาะบังคับ 39 หน่วยกิต
• วิชาเฉพาะเลือก 31 หน่วยกิต
3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
4. การฝึกงาน ไม่น้อยกว่า 240 ชั่วโมง (ไม่นับหน่วยกิต)
ตัวอย่างรายวิชาที่เรียน | |
– เคมีอนินทรีย์ 1 | – สรีรวิทยา |
– ปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์ 1 | – จุลชีววิทยา |
– เคมีอินทรีย์พื้นฐาน | – นิเวศวิทยา |
– ชีวเคมีพื้นฐาน | – สถิติและการวางแผนการทดลองทางชีววิทยา |
– เคมีวิเคราะห์ | – การฝึกประสบการณ์วิชาชีพชีววิทยาประยุกต์ |
– ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์ | – สัมมนาทางชีววิทยาประยุกต์ |
– ชีววิทยาของเซลล์ | – ปัญหาพิเศษทางชีววิทยาประยุกต์ |
– พันธุศาสตร์ |
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
1. สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า สายวิทย์ – คณิตฯ
บัณฑิตสาขาวิชาคณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ทำงานอะไรได้บ้าง ?
1. นักจุลชีววิทยา ในหน่วยงานของรัฐและเอกชน
2. นักวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางจุลินทรีย์ในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร
3. ครูสอนวิทยาศาสตร์
4. ประกอบอาชีพอิสระ
ชื่อหลักสูตร
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี
Bachelor of Science in Chemistry
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็ม : วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี)
: Bachelor of Science (Chemistry)
ชื่อย่อ : วท.บ. (เคมี)
: B.Sc. (Chemistry)
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : ไม่น้อยกว่า 138 หน่วยกิต
กิจกรรมเสริมหลักสูตร : กิจกรรมชุมนุม การพัฒนาบุคลิกภาพ กิจกรรมด้านกีฬาและส่งเสริมสุขภาพ กิจกรรมพัฒนาความสามารถด้านภาษาอังกฤษ คอมพิวเตอร์ กิจกรรม อบรมเสริมอาชีพ อบรมการใช้เครื่องมือวิทย์
การจัดการศึกษา : เปิดสอนภาคปกติ
ระยะเวลาตลอดหลักสูตร : 4 ปี (ไม่น้อยกว่า 6 ภาคการศึกษา)
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร : 80,000 – 88,000 บาท
โครงสร้างหลักสูตร :
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
• กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร
• กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
• กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
• กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า 102 หน่วยกิต
• วิชาแกน 33 หน่วยกิต
• วิชาเฉพาะบังคับ 56 หน่วยกิต
• วิชาเฉพาะเลือก 13 หน่วยกิต
3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
4. การฝึกงาน ไม่น้อยกว่า 240 ชั่วโมง (ไม่นับหน่วยกิต)
ตัวอย่างรายวิชาที่เรียน | |
– เคมีอนินทรีย์ 1 | – ปฏิบัติการชีวเคมี 1 |
– ปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์ 1 | – ปฏิบัติการชีวเคมี 2 |
– ความปลอดภัยจากสารเคมี | – การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 2 |
– เคมีอนินทรีย์ 2 | – สเปกโทรสโกบีของสารอินทรีย์ |
– ปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์ 2 | – การปฏิบัติการวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 2 |
– เคมีอินทรีย์ 1 | – โครงการวิจัยทางเคมี |
– ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 1 | – ปฏิบัติการเคมีเชิงฟิสิกส์ 1 |
– เคมีอินทรีย์ 2 | – ปฏิบัติการเคมีเชิงฟิสิกส์ 2 |
– ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 2 | – ชีวเคมี 1 |
– เคมีเชิงฟิสิกส์ 1 | – การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 1 |
– เคมีเชิงฟิสิกส์ 2 | – ชีวเคมี 2 |
– เคมีวิเคราะห์ | – การปฏิบัติการวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ1 |
– ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์ | – การเตรียมฝึกประสบการณ์ |
– สัมมนาเคมี | – การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ |
– การวิจัยเคมี | |
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
1. สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
บัณฑิตสาขาวิชาคณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ทำงานอะไรได้บ้าง ?
1. ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมได้หลายตำแหน่ง เช่น นักวิเคราะห์ทางเคมี นักวิจัย นักควบคุมคุณภาพ เป็นต้น
2. ทำงานทั้งหน่วยงานราชการและบริษัทเอกชน
3. ครู/อาจารย์ในสถานศึกษาต่างๆ
4. ประกอบอาชีพอิสระ
ชื่อหลักสูตร
ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Bachelor of Education in Science and Technology
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็ม : ครุศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
: Bachelor of Education (Science and Technology)
ชื่อย่อ : ค.บ. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี)
: B.Ed. (Science and Technology)
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : ไม่น้อยกว่า 133 หน่วยกิต
กิจกรรมเสริมหลักสูตร : อบรมการควบคุมคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์-ซอฟแวร์ การสร้างนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์
การจัดการศึกษา : เปิดสอนภาคปกติ
ระยะเวลาตลอดหลักสูตร : 4 ปี (8 ภาคการศึกษา)
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร : 88,000 บาท
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
• กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
• กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
• กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
• กลุ่มวิชา วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า 97 หน่วยกิต
2.1 กลุ่มวิชาชีพครู ไม่น้อยกว่า 37 หน่วยกิต
– วิชาชีพครู ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต
– วิชาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
2.2 กลุ่มวิชาเอก ไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต
– วิชาเอกบังคับ ไม่น้อยกว่า 40 หน่วยกิต
– วิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 20 หน่วยกิต
3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
ตัวอย่างรายวิชาที่เรียน | |
– กลศาสตร์ | – เคมีวิเคราะห์ |
– แม่เหล็กไฟฟ้า | – ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์ |
– คอมพิวเตอร์ประยุกต์ สำหรับวิทยาศาสตร์ | – พฤกษศาสตร์ – สัมมนาวิทยาศาสตร์ |
– อิเล็กทรอนิกส์ดิจิทัล | – สัตววิทยา |
– วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ | – เสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ |
– เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ | – การวิจัยวิทยาศาสตร์ |
– เคมีอนินทรีย์ 1 | – พันธุศาสตร์ |
– เคมีอินทรีย์พื้นฐาน |
|
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
1. สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
บัณฑิตสาขาวิชาคณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ทำงานอะไรได้บ้าง ?
1. ประกอบอาชีพครู อาจารย์ ในโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาต่างๆ
2. ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมได้
3. เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
4. ประกอบอาชีพอิสระ
ชื่อหลักสูตร
ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา
Bachelor of Education Program in Biology
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็ม : ครุศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยา)
: Bachelor of Education (Biology)
ชื่อย่อ : ค.บ. (ชีววิทยา)
: B.Ed. (Biology)
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : ไม่น้อยกว่า 133 หน่วยกิต
กิจกรรมเสริมหลักสูตร : ผู้ช่วยวิทยากรชมรมความรู้ทางชีววิทยาแก่ครูและนักเรียน ศึกษาดูงานนอกสถานที่
การจัดการศึกษา : เปิดสอนภาคปกติ
ระยะเวลาตลอดหลักสูตร : 4 ปี (8 ภาคการศึกษา)
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร : 88,000 บาท (ภาคการศึกษาละ 11,000 บาท)
โครงสร้างหลักสูตร :
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
• กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร
• กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
• กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
• กลุ่มวิชา วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า 97 หน่วยกิต
1.1) กลุ่มวิชาชีพครู ไม่น้อยกว่า37 หน่วยกิต
• วิชาชีพครู ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต
• วิชาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
1.2) กลุ่มวิชาเอก ไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต
• วิชาเอกบังคับ ไม่น้อยกว่า 40 หน่วยกิต
• วิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 20 หน่วยกิต
3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
ตัวอย่างรายวิชาที่เรียน | |
– อนุกรมวิธานพืช | – นิเวศวิทยา |
– พันธุศาสตร์ | – วิทยาเอ็มบริโอ |
– การวิจัยชีววิทยา | – การวิจัยชีววิทยา |
– เครื่องมือและเทคนิค | – สัตววิทยา |
– ชีวเคมีพื้นฐาน ทางชีววิทยา | – นิเวศวิทยา |
– เคมีอินทรีย์พื้นฐาน | – การวิจัยวิทยาศาสตร์ |
– เคมีวิเคราะห์ | – พันธุศาสตร์ |
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
1. สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
บัณฑิตสาขาวิชาชีววิทยาทำงานอะไรได้บ้าง ?
1. ประกอบอาชีพครู อาจารย์ ในโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาต่างๆ
2. ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม เช่น ตรวจเชื้อในอาหารตามมาตรฐานการส่งออก
3. ประกอบอาชีพอิสระ เช่น ฟาร์มเพาะเลี้ยงเห็ด เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้
ชื่อหลักสูตร
ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี
Bachelor of Education program in Chemistry
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็ม : ครุศาสตรบัณฑิต (เคมี)
: Bachelor of Education (Chemistry)
ชื่อย่อ : ค.บ. (เคมี)
: B.Ed. (Chemistry)
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร : ไม่น้อยกว่า 133 หน่วยกิต
กิจกรรมเสริมหลักสูตร : การพัฒนาบุคลิกภาพ กิจกรรมพัมนาความสามารถด้านภาษาอังกฤษและคอมพิวเตอร์
กิจกรรมพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม อบรมอาชีพเสริม อบรมเสริมทักษะการใช้เครื่องมือ
การจัดการศึกษา : เปิดสอนภาคปกติ
ระยะเวลาตลอดหลักสูตร : 4 ปี (ไม่น้อยกว่า 8 ภาคการศึกษา)
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร : 88,000 บาท (ภาคการศึกษาละ 11,000 บาท)
โครงสร้างหลักสูตร :
1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
• กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
• กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
• กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
• กลุ่มวิชา วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า 97 หน่วยกิต
2.1 กลุ่มวิชาชีพครู ไม่น้อยกว่า 37 หน่วยกิต
– วิชาชีพครู ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต
– วิชาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
2.2 กลุ่มวิชาเอก ไม่น้อยกว่า 60 หน่วยกิต
– วิชาเอกบังคับ ไม่น้อยกว่า 40 หน่วยกิต
– วิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 20 หน่วยกิต
3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
ตัวอย่างรายวิชาที่เรียน | |
– เคมีอนินทรีย์ 1 | – ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 1 |
– ปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์ 1 | – การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 2 |
– เคมีอนินทรีย์ 2 | – การปฏิบัติการวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 2 |
– ปฏิบัติการเคมีฟิสิกส์ 1 | – โครงการวิจัยทางเคมี |
– ปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์ 2 | – ปฏิบัติการชีวเคมี 2 |
– เคมีเชิงฟิสิกส์ 1 | – เคมีอินทรีย์ 2 |
– เคมีเชิงฟิสิกส์ 2 | – ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 2 |
– เคมีวิเคราะห์ | – ปฏิบัติการเคมีฟิสิกส์ 2 |
– ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์ | – ชีวเคมี 1 |
– ปฏิบัติการชีวเคมี 1 | – การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 1 |
– ชีวเคมี 2 | – การปฏิบัติการวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 1 |
– เคมีอินทรีย์ 1 |
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
1. สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
บัณฑิตสาขาวิชาคณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ทำงานอะไรได้บ้าง ?
1. ครู อาจารย์ ในโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาต่างๆ
2. นักวิจัย
3. นักวิทยาศาสตร์
4. นักวิชาการ
5. ประกอบอาชีพอิสระ
|
ที่ | ชื่อโครงการ | วันเวลา |
1 | การอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาการสอนกระบวนการแก้ปัญหา สำหรับครูวิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 1 >> คลิกดูรายละเอียด | 19-21 มิ.ย. |
2 | พัฒนาความรู้คณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา >> คลิกดูรายละเอียด | 23-25 ก.ค. |
3 | อบรมสถิติเพื่อการวิจัยเบื้องต้น รุ่นที่ 2-4 | 20-21 มิ.ย. |
4 | การสร้างสื่อ multimedia โดยใช้ Software Adobe Flash รุ่นที่ 1 (เลื่อนการอบรม) | 28-30 ส.ค. |
5 | การสร้างสื่อ multimedia โดยใช้ Software Adobe Flash รุ่นที่ 2 | 1-3 ส.ค. |
6 | โครงการอบรมศิลปการร้อยคริสตัลและลูกปัด >> คลิกดูรายละเอียด | 27-28 มิ.ย. |
7 | การประชุมปฏิบัติการการเขียนโครงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน >> คลิกดูรายละเอียด | 29-31 ส.ค. |
8 | โครงการอบรมงานใบตองในงานพิธีต่างๆ >> คลิกดูรายละเอียด | 4-5 ก.ค. |
9 | การประชุมปฏิบัติการเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ >> คลิกดูรายละเอียด | 18-20 ก.ค. |
10 | การอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาการสอนกระบวนการแก้ปัญหา สำหรับครูวิทยาศาตร์ ช่วงชั้นที่ 2 >> คลิกดูรายละเอียด | 10-12 ก.ค. |
11 | โครงการอบรมแกะสลักผักผลไม้ >> คลิกดูรายละเอียด | 11-12 ก.ค. |
12 | อบรมเชิงปฏิบัติการ การเสริมความรู้ทางเคมี >> คลิกดูรายละเอียด | 1-2 ส.ค. |
13 | พัฒนาความรู้คณิตศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น >> คลิกดูรายละเอียด | 6-8 ส.ค. |
14 | การอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาการสอนกระบวนการแก้ปัญหา สำหรับครูวิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3 >> คลิกดูรายละเอียด | 31 ก.ค., |
15 | โครงการอบรมอาหารไทยและขนมไทย >> คลิกดูรายละเอียด | 15-16 ส.ค. |
16 | การอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาการสอนกระบวนการ แก้ปัญหา สำหรับครูวิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 4 >> คลิกดูรายละเอียด | 21-23 ส.ค. |
17 | โครงการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเพื่อลดปัญหาภาวะโลกร้อน | 24-28 ส.ค. |
18 | โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพ ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ครั้งที่ 3 | 9-16 ต.ค. |