Latest News
![]() |
|
ความเชี่ยวชาญ/ผลงานวิจัย/บทความวิชาการ
บทความวิชาการ
เรื่อง การสร้างมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน โดยใช้รูปแบบการสร้างมโนทัศน์ของ Lasley and Matchzynski ตีพิมพ์ที่ วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี 2556
แหล่งทุนวิจัยต่างประเทศ | ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
| ||||||||||||||||
|
โครงการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วันพุธที่ 4 กรกฎาคม 2555 เวลา 12.30 น. – 17.00 น. ณ ห้องวิทยาภิรมย์ 1 ได้รับความอนุเคราะห์จาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธันวา จิตต์สงวน รองอธิการบดีฝ่ายกิจการพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน เป็นวิทยากรให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมายอาจารย์ 50 ท่าน และนักศึกษา 440 คน เข้าร่วมฟังบรรยาย
สอบถามรายละเีอียดเพิ่มเติมที่ ฝ่ายวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โทร. 1387
การดำเนินงาน
ฝ่ายวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ฤดี ธีระเดชพงศ์ ได้จัดโครงการส่งเสริมการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กับอาจารย์ เจ้าหน้าที่และนักศึกษาในคณะวิทยาศาสตร์ฯ จำนวน 500 คน ณ ห้องประชุมศูนย์วิทยาภิรมย์ 1 โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธันวา จิตต์สงวน อนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง และรองอธิการบดีฝ่ายกิจการพิเศษ มหาวิทยาเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพฯ ให้เกียรติเป็นวิทยากร ครั้งนี้มีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศรชัย เย็นเปรม และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสนาะ กลิ่นงาม ร่วมให้การต้อนรับท่านวิทยากร และเป็นประธานเปิดโครงการฯ
การบรรยายครั้งนี้เป็นการส่งเสริมให้อาจารย์นำความรู้ ความเข้าใจ มาสอดแทรกในการสอนให้หลากหลายมากขึ้น และมุ่งเน้นให้นักศึกษามีความสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริม สืบสานโครงการอันมาจากพระราชดำริ และแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นอีกทางหนึ่งที่จะให้นักศึกษาสามารถนำมาเสนอหัวข้องานวิจัยในหลักสูตรที่เรียนได้อีกทางหนึ่งด้วย
|
ความเชี่ยวชาญ/ผลงานวิจัย/บทความวิชาการ
Kanokrat Jirasatjanukul Prachyanun Nilsook and Panita Wannapiroon (2019) Intelligent Human Resource Management Using Latent Semantic Analysis with the Internet of Things. International Journal of Computer Theory and Engineering. 11(2) Aril 2019: 23-26 DOI DOI: 10.7763/IJCTE.2019.V11.1235 ปภัสรา อุระอารีย์, มลวิภา วัฒนา, กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล, เมษิยา แย้มเจริญกิจ และ ปิยวัฒน์ เนียมมาลัย (2562) ผลการศึกษาความพงึ พอใจที่มีต่อการใชโ้ ปรแกรม GeoGebra ประกอบการจัดการเรียนรู้เรื่อง คู่อันดับและกราฟของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิชาการระดับชาติ UTCC Academic Day ครั้งที่ 3. 31 พฤษภาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. หน้า 1673-1681. กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล, กฤตย์ษุพัช สารนอก, ณัฐกานต์ ภาคพรต และ เกรียงไกร จริยะปัญญา (2562) ผลการจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการโดยใช้ไอซีทีตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ในรายวิชาระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม. การประชุมวิชาการระดับชาติ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ (สสอท) : การจัดการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต. 2-3 กุมภาพันธ์ 2562 ณ เคนซิงตัน อิงลิช การ์เดน รีสอร์ท เขาใหญ่. หน้า 393-398. กฤตย์ษุพัช สารนอก, กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล, มารวย ปณะราช และ อุษณียา เพชรนาท (2562) รูปแบบการเรียนการสอนด้วยการเล่าเรื่องแบบดิจิทัลเพื่อพัฒนาความฉลาดบนโลกดิจิทัลของนักศึกษาวิชาชีพครู. การประชุมวิชาการระดับชาติ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ (สสอท) : การจัดการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต. 2-3 กุมภาพันธ์ 2562 ณ เคนซิงตัน อิงลิช การ์เดน รีสอร์ท เขาใหญ่. หน้า 851-862. กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล, เมษิยา แย้มเจริญกิจ, รักถิ่น เหลาหา, และ กฤตย์ษุพัช สารนอก (2562) รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบประสบการณ์จริงเพื่อส่งเสริมทักษะชีวิตและอาชีพ สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู. การประชุมและนำเสนอผลงานวิชาการทางการศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 6 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล. 12-13 มกราคม 2562 มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล หน้า157-163 กฤตย์ษุพัช สารนอก, รุ่งศักดิ์ เยื่อใย, กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล และ สุรเชษฐ์ สังขพันธ์ (2562). รูปแบบของระบบนิเวศการเรียนรู้ดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษาวิชาชีพครูในศตวรรษที่ 21. การประชุมและนำเสนอผลงานวิชาการทางการศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 6 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล. 12-13 มกราคม 2562 มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล หน้า 459-468 รักถิ่น เหลาหา, กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล และนราวิชญ์ ศรีเปารยะ (2561) การพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับความหลากหลายทางชีวภาพชนิดพันธ์ุปลาลำน้ำสาขาลุ่มแม่น้ำชี. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 5”. 2-5 ธันวาคม 2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. หน้า 113-119. บุญชนก ศิลทอง และ กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล (2561) ผลการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้แบบเกมมิฟิเคชันร่วมกับคิวอาร์โคด กรณีศึกษาซุ้มฟิลิปินส์ กิจกรรมวันอาเซียน โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 69 (คลองหลวง). การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 5”. 2-5 ธันวาคม 2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. หน้า 337-342 กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล และปรัชญนันท์ นิลสุข (2561). แนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ด้วยโมบายNFC เทคโนโลยี. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 29(3).DOI: http://dx.doi.org/10.14456/asj-psu.2018.58 กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล และณมน จีรังสุวรรณ (2561). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ด้วยทฤษฎีการเรียนรู้แบบการสร้างความรู้นิยมและทฤษฎีการเชื่อมโยงความรู้เพื่อการสร้างนวัตกรรมแบบประสบการณ์จริง. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี. 7(2). Kanokrat Jirasatjanukul, Prachyanun Nilsook and Panita Wannapiroon (2018) Creation of a Structural Equation Model of Human Resource Management to Be Applied to High-Performance. 2018 2nd International Conference on E-Business and Internet (ICEBI 2018). May 16-18, 2018. Taipet, Taiwan. กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล และจิระนันท์ โตสิน (2561). การศึกษาเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนแบบเกมมิฟิเคชั่นของนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนาศิลป์ ครั้งที่ 2 วันที่ 9 พฤษภาคม 2561 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร. กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล ปรัชญนันท์ นิลสุข และจันทร์เพ็ญ งามพรม (2561) ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐานในรายวิชาหลักการเขียนโปรแกรมบนอินเทอร์เน็ต. การประชุมวิชาการระดับชาติ มศว วิจัย ครั้งที่ 11 วันที่ 29-30 มีนาคม 2561 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. หน้า735-743 จิระนันท์ โตสิน และกนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล (2561). การพัฒนาบทเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานด้วย Google Sites. งานประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 5 วันที่ 8-9 มีนาคม 2561 ณ ณ อิมพีเรียล ภูแก้ว ฮิลล์ รีสอร์ท อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ Kanokrat Jirasatjanukul and Namon Jeerungsuwan (2018) The Design of an Instructional Model Based on Connectivism and Constructivism to Create Innovation in Real World Experience. International Education Studies; Vol. 11, No. 3; 2018: pp12-17. doi:10.5539/ies.v11n3p12 กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล และจิระนันท์ โตสิน (2561). รูปแบบการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านโน้ตสากล. งานประชุมและนำเสนอผลงานวิชาการทางการศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 5 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล. 6-7 มกราคม 2561. ณ โรงแรมสบาย จังหวัดนครราชสีมา กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล และปณิตา วรรณพิรุณ (2560).การออกแบบระบบการสอนอัจฉริยะด้วยการประมวลผลแบบภาษาธรรมชาติโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ความหมายแฝง. วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรมพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ปีที่8 ฉบับที่2 กรกฎาคม-ธันวาคม2560 กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล และอารี น้อยสำราญ (2559) การศึกษาและพัฒนาเว็บไซต์แนะนำอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง กรณีศึกษา อาหารพื้นบ้านในอำเภอเมืองเพชรบุรี. งานประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวิจัยรับใช้ชุมชม สร้างสังคมฐานความรู้”. 31 สิงหาคม 2559 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี จังหวัดกรุงเทพ. รัตติยากร ลํ้าเลิศ, สุวรรณา หอมจันทร์ และกนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล (2557) การออกแบบบทเรียนออนไลน์กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์สำหรับระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6.การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ศึกษาเพื่อสร้างแรงบันดาลใจสู่นวัตกรรม ครั้งที่ 1 วันที่ 5-6 กันยายน 2557 ณ ห้องประชุมใหญ่ อาคารอเนกประสงค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี สิริรัตน์ ถมยา, รัตน์มณี ชะเอม และ กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล (2557) การพัฒนาบทเรียนออนไลน์วิชาคณิตศาสตร์เรื่อง ลำดับและอนุกรมสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ศึกษาเพื่อสร้างแรงบันดาลใจสู่นวัตกรรม ครั้งที่ 1 วันที่ 5-6 กันยายน 2557 ณ ห้องประชุมใหญ่ อาคารอเนกประสงค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี สุขกัญญา สุวรรณรัตน์, การเกตุ ศรีสมบัติ และ กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล (2557). การพัฒนาและประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้สื่อบทเรียนออนไลน์เรื่องอัตราส่วนและร้อยละ. การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ศึกษาเพื่อสร้างแรงบันดาลใจสู่นวัตกรรม ครั้งที่ 1 วันที่ 5-6 กันยายน 2557 ณ ห้องประชุมใหญ่ อาคารอเนกประสงค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล บุญตา ศิลทอง และกรัณฑา นามทิพย์ (2557) บทเรียนออนไลน์วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่6 “เทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่อาเซียน วันที่ 23-25 กรกฎาคม 2557 ณ อาคารเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล ปรัชญนันท์ นิลสุข และจันทร์เพ็ญ งามพรม (2556) การพัฒนาบทเรียนออนไลน์เรื่องหลักการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. การประชุมวิชาการระดับชาติราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงวิจัยครั้งที่ 1. 1 มีนาคม 2556 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง จังหวัดราชบุรี. กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล ปรัชญนันท์ นิลสุข และจันทร์เพ็ญ งามพรม (2556) ผลของการใช้บทเรียนออนไลน์ร่วมกับเครือข่ายสังคมสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี.การประชุมวิชาการทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ 2556 (CIT2013).23-25 มกราคม 2556 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร. กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล และ ณัฐธนนท์ หงส์วริทธิ์ธร. (2555) “ระบบการวิเคราะห์ข้อคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญด้วยการวิเคราะห์ความหมายแอบแฝงและการจัดกลุ่มข้อความ” วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับมกราคม-มิถุนายน 2555 กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล และ ณัฐธนนท์ หงส์วริทธิ์ธร. (2554) “การศึกษาเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์ข้อคิดเห็นด้วยเทคนิคการวิเคราะห์ความหมายแอบแฝงร่วมกับเทคนิคการจัดกลุ่มข้อความแบบแบ่งส่วน”, วารสารคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 ตุลาคม 2553-กันยายน 2554 กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล และ ณัฐธนนท์ หงส์วริทธิ์ธร. (2553) “การตั้งคำถามจากข้อคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญด้วยการวิเคราะห์ความหมายแอบแฝง สำหรับการวิจัยด้วยเทคนิคเดลฟาย” The Conference on Knowledge and Smart Technologies (KST-2010) เอกสารประกอบการสอนหลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ เอกสารประกอบการสอนการสื่อสารข้อมูลเและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หนังสือเรียน โปรแกรมมัลติมีเดียเพื่อการนำเสนอ บริษัท แม็คแอ็ดดูเคชั่น จำกัด ,2558 หนังสือเรียน เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น บจก.พัฒนาวิชาการ ,2557 หนังสือเรียน ระบบเครือข่ายเบื้องต้น บริษัท แม็คแอ็ดดูเคชั่น จำกัด ,2556 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์พัฒนาคุณภาพวิชาการ, 2555 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์พัฒนาคุณภาพวิชาการ, 2554 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์พัฒนาคุณภาพวิชาการ, 2553 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์พัฒนาคุณภาพวิชาการ, 2553 รางวัลนำเสนอผลงานวิจัยแบบบรรยายด้านนวัตกรรม ในระดับดี จากการนำเสนอผลงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนแบบเกมมิฟิเคชั่นของนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี” ในการประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ครั้งที่ 2 วันที่ 9 พฤษภาคม 2561 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กรุงเทพฯ. รางวัลนักวิจัยดีเด่น คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (2561) อาจารย์ที่ปรึกษาดีเด่น. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (2560) อาจารย์ที่ปรึกษาดีเด่น. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (2560) รางวัลผลงานวิจัยระดับดีเด่น. จากการนำเสนอผลงานวิจัย เรื่อง “การศึกษาและพัฒนาเว็บไซต์แนะนำอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง กรณีศึกษา อาหารพื้นบ้านในอำเภอเมืองเพชรบุรี. ในงานประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 2559 “การวิจัยรับใช้ชุมชม สร้างสังคมฐานความรู้”. 31 สิงหาคม 2559 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. รางวัลนักวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ ได้รับคัดเลือกเป็นนักวิจัยรุ่นกลาง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (2559) รางวัลนักวิจัยดีเด่น. สถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. (2559) อาจารย์ที่ปรึกษาดีเด่น มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (2558) รางวัลเหรียญทอง ประเภทอาจารย์จากสถาบันอุดมศึกษา จากการประกวดเรื่องเล่าดิจิทัล “การใช้ไอซีทีจัดการเรียนรู้ด้วยโครงการ ตามแนว Constructionism (Project-based Learning using ICT) (2558) ครูดีในดวงใจ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (2557) รางวัลนักวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนยอดเยี่ยม ด้านวิทยาศาสตร์ ประจำปี 2556 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (2556) |
![]() |
|
ประสบการณ์การทำงาน/การฝึกอบรม/ความเชี่ยวชาญ/วิชาที่สอน | ||
ด้าน | รายละเอียด | หมายเหตุ |
ความเชี่ยวชาญ | ใช้โปรแกรม Microsoft Office, Adobe Photoshop, SPSS for Windows และ หลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร GMP | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บางเขน |
หัวหน้าฝ่ายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ | ด้านปลาทูน่า ปลาซาดีน และปลาแซลมอน บรรจุกระป๋อง และรีทอร์ทเพ้าช์ | บริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จำกัด (มหาชน) ตั้งแต่ 18 กุมภาพันธ์ – 31 กรกฎาคม 2551 |
นักวิจัยระดับห้องปฏิบัติการ | ด้านเครื่องดื่มต่างๆ เช่น น้ำส้ม นำผลไม้ชนิดต่างๆ และเครื่องดื่มชนิดไม่มีแอลกอฮอล์ | บริษัท Pepsi-Cola (Thai) Trading, Co. Ltd ตั้งแต่ 8 ตุลาคม 2550 – 31 มกราคม 2551 |
ผู้ช่วยวิจัย | โครงการพัฒนาบุคลากรและกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมอาหารไทย ฮาลาลเพื่อการส่งออก : พัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวผัดกุ้ง | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บางเขน ประจำปี 2549 |
ความเชี่ยวชาญ | เคยตรวจวัดค่าการให้ความร้อนของอาหาร ให้กับบริษัทและโรงงานต่างๆ
| – บริษัท อินเว ประเทศไทย จำกัด – โรงงานอาหารชีวภาพ จำกัด – บริษัท น้ำพริกแม่ศรี จำกัด – บริษัท น้ำพริกนิตยา จำกัด |
ผู้ช่วยสอน | วิศวกรรมอาหาร และวิชาเครื่องทำความเย็นและห้องเย็น | ภาคต้น และภาคปลาย ปีการศึกษา 2547 |
การฝึกงาน | การฝึกอบรมงานด้านต่างๆ ของทางสถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร | สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บางเขน ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม – 13 มิถุนายน 2546 |
คณะกรรมการสโมสรนักศึกษา | ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งผู้ช่วยปฏิคม คณะกรรมการสโมสรนักศึกษา | มหาวิทยาลัยสยาม ประจำปีการศึกษา 2546 |
คณะกรรมการชมรมเทคโนโลยีการอาหาร | ปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งฝ่ายประสานงาน ชมรมเทคโนโลยีการอาหาร | มหาวิทยาลัยสยาม ประจำปีการศึกษา 2545 |
ประวัติรางวัลที่ได้รับ | ||
ชื่อรางวัล | วันที่ | องค์กร/หน่วยงานที่มอบรางวัล |
1st Place at the Martin Braun Workshop at Anantara Hotel Bangkok | 29 กุมภาพันธ์ – 1 มีนาคม 2559 | Martin Braun |
Workshop on HACCP | 14-17 มีนาคม 2547 | คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บางเขน |
โครงการเสริมสร้างภาวะผู้นำ รุ่นที่ 1 | 8-10 กันยายน 2544 | มหาวิทยาลัยสยาม |
ผลงานทางวิชาการ | ||
ประเภทผลงาน | ชื่อผลงาน | ข้อมูลรายละเอียด |
บทความทางวิชาการ | Preparation of Alcalase Hydrolyzed Rice Bran Protein Concentrate and Its Inhibitory Effect on Soybean Lipoxygenase Activity | ร่วมประชุมเพื่อนำเสนอผลงานวิจัยภาคโปสเตอร์ ในการประชุมวิชาการโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษกร่วมกับ กองทุนสนับสนุนการวิจัย ครั้งที่ 15 ประจำปี 2557 ระหว่างวันที่ 28-30 พฤษภาคม 2557 |
บทความทางวิชาการ | Preparation of Alcalase Hydrolyzed Rice Bran Protein Concentrate and Its Inhibitory Effect on Soybean Lipoxygenase Activity | ตีพิมพ์วารสารระดับนานาชาติ ในวารสาร International Journal of Food Science and Technology ฉบับที่ 49 หน้าที่ 501-507 ประจำปี 2557 |
บทความทางวิชาการ | Preparation of Alcalase Hydrolyzed Rice Bran Protein Concentrate at Different Hydrolysis Times and Its Inhibitory Effect on Soybean Lipoxygenase Activity | ร่วมประชุมเพื่อนำเสนอผลงานวิจัยภาคโปสเตอร์ ในการประชุมประจำปีและงานแสดงสินค้าทางอาหารของสถาบันเทคโนโลยีการอาหาร (IFT) ประจำปี 2555 ระหว่างวันที่ 25-28 กรกฎาคม 2555 |
บทความทางวิชาการ | การพัฒนากรรมวิธีการผลิตข้าวผัดกุ้งบรรจุรีทอร์ทเพาช์ | ร่วมประชุมเพื่อนำเสนอผลงานวิจัยภาคบรรยาย ในการประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8 ประจำปี 2550 ระหว่างวันที่ 21-24 มกราคม 2550 |
บทความทางวิชาการ | ผลของความร้อนในหม้อฆ่าเชื้อต่อความแข็งแรงของบรรจุภัณฑ์อ่อนตัวชนิดถุงตั้งได้ | ร่วมประชุมเพื่อนำเสนอผลงานวิจัยภาคบรรยาย หัวข้อเรื่องผลของความร้อนในหม้อฆ่าเชื้อต่อความแข็งแรงของบรรจุภัณฑ์อ่อนตัวชนิดถุงตั้งได้ ในการประชุมวิชาการ สมาคมวิศวกรรมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7 ประจำปี 2549 ระหว่างวันที่ 23-24 มกราคม 2549 |
![]() |
|
Scholarships :
Work Experience :
Award:
Publications :
5. Sudta, P.; Sabyjai, C.; Wanirat, K. (2013). Phytochemical analysis, In vitro antioxidant and cytotoxic activity of extracts of Paederia linearis Hook. F. root. The Science Journal of Phetchaburi Rajabhat University. 10(1): 5-18.
6. Sudta, P.; Buasiri, K. (2016). Antituberculosis Alkaloids from the Roots of Zanthoxylum rhetsa. Proceeding on Pure and Applied Chemistry International Conference 2016 . Bitec Bangna Bangkok, Thailand, February, 2016. (in press).
7. Kirk, S.N.; Bezos, A.; Willis, A.C.; Sudta, P.; Suksamrarn S.; Parish, C.R.; Ranson, M.; Kelso, M.J. (2016). Synthesis and Preliminary Evaluation of 5,7-Dimethyl-2-Aryl-3H-Pyrrolizin-3-ones as Angiogenesis Inhibitors. Bioorganic & medicinal chemistry letters. (Inpress).
8. พิชิต สุดตา, กานต์ หลินลาโภ, จริยา ปันโป่ง. (2016). แอลคาลอยด์ที่แสดงฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็ง. วารสารวิทยาศาสตร์ มข. (in press).
9. พิชิต สุดตา, วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล, นันท์ภัส สุวรรณสินธุ์. (2015). สารพฤกษเคมี และฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งของพืชสกุล Capparis บางชนิด. รายงานหลังการประชุมวิชาการระดับชาติ งานประชุมวิชาการราชภัฏรำไพพรรณีครั้งที่ 9. มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จังหวัดจันทบุรี 2015. 306-315.
Review article
1. พิชิต สุดตา. (2554). สารยับยั้ง VEGF ในการสร้างหลอดเลือด: เป้าหมายใหม่สำหรับการค้นพบยาต้านมะเร็ง. วารสารวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. 8(1): 88-99.
2. พิชิต สุดตา. (2555). สารโปรดรักส์ที่ถูกกระตุ้นในสภาวะพร่องออกซิเจนกับการรักษามะเร็ง. วารสารวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. 9(1): 53-68.
3. พิชิต สุดตา. (2558). การใช้ประโยชน์ทางยาพื้นบ้าน สารพฤกษเคมี และฤทธิ์ทางชีวภาพของมะข่วง. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา. 20(1): 236-250.
Patents:
Conference Abstracts:
Current Research: