![]() | ชือ :
วุฒิการศึกษา : เบอร์โทรศัพท์ : อีเมล์ : | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุษราคัม สิงห์ชัย Dr.Butsarakham Singchai วท.บ.(เคมี) 081-9950713 |
![]() | ชือ :
วุฒิการศึกษา : เบอร์โทรศัพท์ : อีเมล์ : | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุษราคัม สิงห์ชัย Dr.Butsarakham Singchai วท.บ.(เคมี) 081-9950713 |
![]() ผศ.ดร.วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล |
|
ผลงานทางวิชาการ/ผลงานวิจัยและประสบการณ์
1.ตำรา/เอกสารประกอบการสอน
1.1 ตำรา สารประกอบโคออร์ดิเนชัน (2549)
1.2 เอกสารประกอบการสอน ปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์ 2 (2549)
1.3 เอกสารประกอบการสอน ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 2 (2552)
1.4 เอกสารประกอบการสอน ปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์ 1 (2556)
1.5 เอกสารคำสอน การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 1 (2558)
1.6 บทความวิชาการ อนุมูลอิสระและสารต้านอนุมูลอิสระ วารสารวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 สิงหาคม 2551
1.7 บทความวิชาการ วิตามินต้านอนุมูลอิสระ วารสารวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 สิงหาคม 2553
1.8 ตำรา ปฏิบัติการการวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 1 (2560)1.9 ตำรา การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ (2560)
2.ผลงานวิจัย
2.1 การสกัดเคอร์คูมินจากขมิ้น (2544)
2.2 ความพึงพอใจและความคาดหวังของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนการสอนของคณะวิทยาศาสตร์(2548)
2.3 การตรวจสอบและบ่งชี้ชนิดสารต้านออกซิเดชันจากพืชสมุนไพรบางชนิด (2548)
2.4 การตั้งตำรับครีมต้านการอักเสบจากใบสิบสองราศี (2552)
2.5 ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระและปริมาณสารฟีนอลิกทั้งหมดของสารสกัดจากใบสิบสองราศี วารสารวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 สิงหาคม 2555
2.6 ฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน ต้านการอักเสบและต้านมะเร็งจากใบสิบสองราศี.ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏสุราษฎร์ธานีวิจัย ครั้งที่ 9 วันที่ 21-22 พฤศจิกายน 2556
2.7 ฤทธิ์ทางชีวภาพและการตรวจสารพฤกษเคมีเบื้องต้นจากใบสิบสองราศี ในการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ศึกษาเพื่อสร้างแรงบันดาลใจสู่นวัตกรรม ครั้งที่ 1 วันที่ 5-6 กันยายน 2557
2.8 พิชิต สุดตา วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล นันท์ภัส สุวรรณสินธุ์. (2558). สารพฤกษเคมี และฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งของพืชสกุล Capparis บางชนิด. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ งานประชุมวิชาการราชภัฏรำไพพรรณี ครั้งที่ 9. มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จังหวัดจันทบุรี 2558.
2.9 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล ชุลี สัมพดาม ณัฐฐินันท์ แย้มพุกและจิรพร กิติยายาม. (2559). ฤทธิ์ต้านออกซิเดชันและสารพฤกษเคมีเบื้องต้นของในเชอร์รี่. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 8. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จังหวัดนครปฐม 2559.
2.10 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล สุดารัตน์ รนทะพาน สโรชา ภู่ระย้าและชลนที สุนเจริญ. (2559). ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและสารพฤกษเคมีของหญ้าคา. รายงานสืบเนื่องการประชุมระดับชาติ ราชภัฏเพชรบุรีวิจัย ครั้งที่ 6 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี 2559.
2.11 ช่อทิพย์ หอมชื่น เบญจวรรณ หินแก้ว ศิริลักษณ์ อาสน์แก้ว วัชราภรณ์ ประภาสะโนบลและพิชิต สุดตา. (2560). สารพฤกษเคมี ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและความเป็นพิษต่อเซลล์ของงัวซัง รายงานสืบเนื่องการประชุมระดับชาติ ราชภัฏเพชรบุรีวิจัย ครั้งที่ 7 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี 2560
2.12 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล. (2560). ฤทธิ์ความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งและฤทธิ์ต้านจุลชีพของสารสกัดใบเชอร์รี. วารสารวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2560 (TCI กลุ่ม 2)
2.13 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบลและพิชิต สุดตา. (2560). ฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน ปริมาณฟีนอลิก ฟลาโวนอยด์และแอลคาลอยด์ของสารสกัดลำต้นนกกระลิงแดง. วารสารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 3 ปีที่ 45 (กรกฎาคม-กันยายน 2560) (TCI กลุ่ม 1)
2.14 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล. (2561). ฤทธิ์ทางชีวภาพและการตรวจสารพฤกษเคมีเบื้องต้นของรากสิบสองราศี. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ฉบับที่ 10 ปีที่ 11 (มกราคม-มิถุนายน 2561) (TCI กลุ่ม 1)
2.15 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล ระวิวรรณ ขันสิงห์และศศิวิมล รอดพ้น. (2561). ปริมาณสารพฤกษเคมีและฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของหญ้าคา. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 10. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จังหวัดนครปฐม 2561.
2.16 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล เชษฐ์สุดา ผ่องดี วัชราวลี สมใจและธนาวดี แจ่มแจ้ง. (2561). ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ความเป็นพิษต่อเซลล์และสารพฤกษเคมีของงัวเลีย. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน ครั้งที่ 6 . มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสมุทรปราการ 2561.
2.17 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล ดวงฤทัย จันทร์อินทร์ อินธุอร จำเนียรสุขและณรงค์ วงษ์พานิช. (2561). การศึกษาศักยภาพการผลิตกระดาษจากหญ้าคา. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 5”. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี 2561.
2.18 ธนพร นิลทอง วันวิสาข์ ศรีนันท์และวัชราภรณ์ ประภาสะโนบล. (2561). สารพฤกษเคมีและฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของสารสกัดพืชวงศ์กาฝาก. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 5”. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี 2561.
2.19 ปนัดดา อ่อนนุ่ม อินทิมา มิตรดีและวัชราภรณ์ ประภาสะโนบล. (2561). การสกัดแทนนินและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจากเปลือกผลไม้บางชนิด. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 5”. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี 2561.
2.20 พีระพงษ์ แดงสะอาด สรรเสริญ อาจขาว วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล พิชิต สุดตา. (2562). สารพฤกษเคมี ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและความเป็นพิษต่อเซลล์ของพุงแกรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏเลยวิชาการ ครั้งที่ 5” มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย จังหวัดเลย.
2.21 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล จันทนา ก่อนเก่า กมลพร ประเสริฐพันธ์ ภัทธิรา อินพรมและเอกรินทร์ ราชพลแสน.(2562). การศึกษาสารพฤกษเคมี ปริมาณฟีนอลิกและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของจาวตาล การประชุมสวนสุนันทาวิชาการ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 2.วันที่ 8 พฤศจิกายน 2562. (ภาคบรรยาย) กรุงเทพฯ. 4(98-105). (นักศึกษาได้รับรางวัล Best Oral Presentation).
2.22 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล เพ็ชรน้ำหนึ่ง ทองพิมพ์ โสภิตา แสงจันทร์ ธีวรา วรรณโชติ และชนิดา ศรีสาคร. (2563). การวิเคราะห์หาคุณค่าทางโภชนาการของจาวตาลการประชุมวิชาการระดับชาติราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงวิจัย ครั้งที่ 8. วันที่ 1 มีนาคม 2563. (ภาคบรรยาย) มหาวิทยาลัยหมู่บ้านจอมบึง.1857-1863.
2.23 สุธิดา ทองคำ วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล วัลลี นวลหอม ดวงเดือน วรรณกูลและมาเรียม นิลพันธุ์. (2563).คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของนักศึกษาครุศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 21. วันที่ 27 มีนาคม 2563. (ภาคบรรยาย) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
2.24 Nualhom, W., Thongkam, S., Prapasanobol, V., Wanakool, D. & Nillapun, M. (2020). The Desirable Characteristics of Graduates of Bachelor of Education Program in Social Studies at Rajabhat University. PUPIL: International Journal of Teaching, Education and Learning, 4(2), 317-331.(https://grdspublishing.org/index.php/pupil) [13th ICTEL 2020 – International Conference on Teaching, Education & Learning, 13-14 July, Bangkok. (Oral Presentation)].
2.25 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล อุบลวรรณ ส่งเสริมและมาเรียม นิลพันธุ์. (2564). รูปแบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อพัฒนา ทักษะการสร้างสรรค์และนวัตกรรมของนักศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์, 36(1), มกราคม-เมษายน 2564.(รอเผยแพร่)(TCI กลุ่ม 2).
2.26 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล สุธิดา ทองคำ และมาเรียม นิลพันธุ์. (2565). การพัฒนาหลักสูตรออนไลน์เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการออกแบบการวิจัยในชั้นเรียนสำหรับนักศึกษาครูมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 24(2), เมษายน-มิถุนายน 2565.(รอเผยแพร่)(TCI กลุ่ม 1).
2.27 สุธิดา ทองคำ วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล ชนสิทธิ์ สิทธิ์สูงเนินและมาเรียม นิลพันธ์. (2565). รูปแบบการบริหารหลักสูตรเพื่อผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติและสร้างสรรค์นวัตกรรม. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์, 37(1), มกราคม-เมษายน 2565. (รอเผยแพร่)(TCI กลุ่ม 2).
2.28 สุกิจ หล้าแหล่งและวัชราภรณ์ ประภาสะโนบล. (2564). การตรวจหาสารพฤกษเคมีเบื้องต้น ปริมาณฟีนอลิกและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของก้านใบเลี้ยงตาลโตนด. การประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีครั้งที่ 5 (NCOST5) วันที่ 15-16 มกราคม 2564. (ภาคบรรยาย). คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชมงคลสุวรรณภูมิ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. (pp1196-1203).
2.29 พิภูษา นิลดำ วันทนีย์ งามคง อินทิรา งามคงและวัชราภรณ์ ประภาสะโนบล. (2564). ปริมาณสารพฤกษเคมีของก้านใบเลี้ยงตาลโตนด. การประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีครั้งที่ 5 (NCOST5) วันที่ 15-16 มกราคม 2564. (ภาคบรรยาย). คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชมงคลสุวรรณภูมิ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. (pp1209-1214)
2.30 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบลและอุบลวรรณ ส่งเสริม. (2564). การพัฒนาทักษะการทำงานร่วมกันและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาสาขาวิชาเคมีด้วยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคจิ๊กซอว์. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 11 (2), pp 22-30 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2564) (TCI กลุ่ม 2)
2.31 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล และมาเรียม นิลพันธุ์. (2564). การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน. วารสารวิจัยและพัฒนาหลักสูตร, 11(2), pp 8-23 (กรกฏาคม-ธันวาคม 2564)(TCI กลุ่ม 1)
2.32 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล จันทนา ก่อนเก่า ชนิดา ศรีสาคร และอรุณี แก้วบริสุทธิ์. (2564). การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของจาวตาลโตนดในจังหวัดเพชรบุรี. วารสารวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 18(2),(pp. 17-24) (กรกฏาคม-ธันวาคม 2564) (TCI กลุ่ม 2).
2.33 สกุลรัตน์ คิดอยู่ วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล เวธกา เช้าเจริญและพูนศิริ ทิพย์เนตร. (2564). การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานร่วมกับเทคนิคการให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ เรื่องสารโคเวเลนต์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดจันทราวาส (ศุขประสารราษฎร์). การประชุมวิชาการครุศาสตร์วิชาการครั้งที่ 12 เสนอ. วันที่ 26 ธันวาคม 2564. (ภาคบรรยาย) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.
2.34 ชญานี ทางมีศรี วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล เวธกา เช้าเจริญและพูนศิริ ทิพย์เนตร. (2564). การใช้ใบงานออนไลน์เพื่อแก้ปัญหาการส่งงานในรายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 3 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดจันทราวาส (ศุขประสารราษฎร์) จังหวัดเพชรบุรี. การประชุมวิชาการครุศาสตร์วิชาการครั้งที่ 12 เสนอ. วันที่ 26 ธันวาคม 2564. (ภาคบรรยาย) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.
2.35 พัสวี สว่างใจ วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล สุธิดา ทองคำและเวธกา เช้าเจริญ. (2564). การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานร่วมกับแอพพลิเคชันตารางธาตุเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้วิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านลาดวิทยา. การประชุมวิชาการครุศาสตร์วิชาการครั้งที่ 12 เสนอ. วันที่ 26 ธันวาคม 2564. (ภาคบรรยาย) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. บทความวิจัยได้รับคัดเลือกให้ตีพิมพ์ในวารสารนาคบุตรปริทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 15(2), pp (พฤษภาคม-สิงหาคม 2566)(TCI กลุ่ม 1)
2.36. อัญญารัตน์ เข็มกลัด สุนิสา พ่วงสุข เวธกา เข้าเจริญ วัชราภรณ์ ประภาสะโนบลและสุธิดา ทองคำ. (2565). การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นร่วมกับการใช้ผังมโนทัศน์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสุวรรณรังสฤษฏ์วิทยาลัย จังหวัดเพชรบุรี. การประชุมวิชาการระดับชาติ การนำเสนอผลงานวิจัยของนักศึกษา สาขาการศึกษาระดับปริญญาตรีครั้งที่ 4 (ผ่านระบบออนไลน์) ในวันที่ 18 มีนาคม 2565 (ภาคบรรยาย). คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. (p.816-824).
2.37 อินทิรา งามคง กนัษมณ งามระหงส์ อารีวงศ์ วัชราภรณ์ ประภาสะโนบลและเวธกา เช้าเจริญ.(2565). การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ทางเคมีและทักษะการแก้ปัญหา เรื่อง พันธะไอออนิก ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนคงคารามจังหวัดเพชรบุรี. การประชุมวิชาการระดับชาติ การนำเสนอผลงานวิจัยของนักศึกษา สาขาการศึกษาระดับปริญญาตรีครั้งที่ 4 (ผ่านระบบออนไลน์) ในวันที่ 18 มีนาคม 2565 (ภาคบรรยาย). คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. (p.825-832).
2.38 พิชญา จันทรวงษ์ วริศรา สิทธชัย ทัศนีย์ คำใหญ่ พูนศิริ ทิพย์เนตร สุธิดา ทองคำ วัชราภรณ์ ประภาสะโนบลและเวธกา เช้าเจริญ. (2565). การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น ร่วมกับเกมวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. การประชุมวิชาการระดับชาติ การนำเสนอผลงานวิจัยของนักศึกษา สาขาการศึกษาระดับปริญญาตรีครั้งที่ 4 (ผ่านระบบออนไลน์) ในวันที่ 18 มีนาคม 2565 (ภาคบรรยาย). คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. (p.833-844).
2.39 สุธิดา ทองคำ วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล วรรณา วัฒนา ชนิดา ศรีสาครและอรุณี แก้วบริสุทธิ์. (2565). การพัฒนาหลักสูตรพัฒนาความสามารถในการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน ผ่านการจัดค่ายวิชาการแบบบูรณาการ: กรณีศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านเขาจ้าว อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 37 (2), pp. (พฤษภาคม-สิงหาคม 2565). (TCI กลุ่ม 2)
2.40 วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล ถวิล หวังกุ่ม สุธิดา ทองคำ กรองทิพย์ พึ่งสุข ศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัย อุบลวรรณ ส่งเสริมและชนสิทธิ์ สิทธิ์สูงเนิน. (2566). รูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณลักษณะการคิดอย่างมีวิจารณญาณสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 25 (3), pp (กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๖๖) (TCI กลุ่ม 1)
3.ประสบการณ์ทำงาน
พ.ศ. 2542 – ปัจจุบัน อาจารย์ประจำสาขาวิชาเคมี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
พ.ศ. 2545 – 2547 หัวหน้าฝ่ายหลักสูตรและแผนการเรียน สำนักส่งเสริมวิชาการ สถาบันราชภัฏเพชรบุรี
พ.ศ. 2549 – 2551 ประธานสาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
พ.ศ. 2552 – 2555 ประธานหลักสูตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
พ.ศ.2556-2557 กรรมการสภาวิชาการ
พ.ศ.2555-2560 คณะกรรมการประจำคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
พ.ศ.2561 – มีนาคม 2562 ประธานสาขาเคมี
พ.ศ.2561-ปัจจุบัน เป็นผู้ประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (ขึ้นบัญชีของ สกอ.)
4. ประสบการณ์การสอน/วิชาที่เคยสอน
4.1 เคมีอนินทรีย์ 1 และปฏิบัติการ
4.2 เคมีอนินทรีย์ 2 และปฏิบัติการ
4.3 การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 1 และปฏิบัติการ
4.4 สเปกโทรสโกปีสำหรับสารอินทรีย์
4.5 เคมีอินทรีย์พื้นฐาน
4.6 ชีวเคมีพื้นฐาน
4.7 โครงการวิจัยทางเคมี
4.8 เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ
4.9 เคมีอินทรีย์ 2 และปฏิบัติการ
4.10 การจัดการเรียนรู้ด้านเคมี
4.11 สัมมนาเคมี
4.12 เคมีพื้นฐาน
4.13 เคมีการประกอบอาหาร
4.14 เคมีพื้นฐานสำหรับครู
4.15 การวิจัยเคมี
|
|
ประสบการณ์การทำงาน/การฝึกอบรม/ความเชี่ยวชาญ/วิชาที่สอน | |
ด้าน | รายละเอียด |
Experience | 2014-Present : Head of Functional Food and Nutrition Research Unit, Rajabhat Phetchaburi University 2013-Present : Instructor, Applied Food and Nutrition Division, Faculty of Science and Technology, Rajabhat Phetchaburi University 2010-2011 : Post-doctorate, Nutraceutical and Functional Food Research and Development Center, Faculty of Agro-Industry, Prince of Songkla University 2008-2009 : Ph.D. Research Student, Applied Chemistry Department, Faculty of Science and Engineering, Kinki University, Osaka, Japan 2002-2004 : Instructor, Chemistry Division, Faculty of Science and Technology, Rajabhat Phetchaburi University
|
Training Course | 2015 : Intensive European Cuisine, by Suan Dusit International Culinary School 2014 : Intensive Thai Cookery, by Suan Dusit International Culinary School 2012 : Sensory Evaluation, by National Food Institute 2012 : Shelf Life Evaluation of Foods, by Central Laboratory (Thailand) Co., Ltd. 2012 : Food Labeling, by National Food Institute 2006 : Workshop on HACCP: Food Safety Assurance, by Department of Food Science and Technology, Kasetsart University
|
Grants | 2015-Present : Grant for Research, National Research Council of Thailand 2014-2015 : Grant for Research, Rajabhat Phetchaburi University 2013-2014 : Grant for Research, Faculty of Science and Technology, Rajabhat Phetchaburi University 2007-2008 : Graduate Thesis Work in Ph.D. Program, Kasetsart University
|
ผลงานทางวิชาการ | |
ประเภทผลงาน | ข้อมูลรายละเอียด |
Publications | 1) Sukhontha Sukhonthara, Kunwadee Kaewka and Chockchai Theerakulkait. 2016. Inhibitory effect of rice bran extracts and its phenolic compounds on polyphenol oxidase activity and browning in potato and apple puree. Food Chemistry. 190: 922-927. 2) Sukhontha Sukhonthara. 2016. Effect of replacing wheat flour with germinated brown rice flour on the quality of cookies. In Proceeding of 54th Kasetsart University Annual Conference of Agro-industry. 2-5 Febuary, 2016, Kasetsart University, Bangkok, Thailand. (in press). 3) Poonsiri Thipnate and Sukhontha Sukhonthara. 2015. Control of Enzymatic Browning in Apple and Potato Purees by Using Guava Extract. Silpakorn University Science and Technology Journal 9(2) 59-68. 4) Sukhontha Sukhonthara and Chockchai Theerakulkait. 2012. Inhibitory effect of rice bran extract on polyphenol oxidase of potato and banana. Int J Food Sci Tech. 47: 482-487. 5) Sukhontha Sukhonthara and Chockchai Theerakulkait. 2011. Effect of commercially defatted rice bran extract on browning in vegetable and fruit puree. Kasetsart J. 45: 730-735. 6) Sukhontha Sukhonthara, Chockchai Theerakulkait and Mitsuo Miyazawa. 2009. Characterization of volatile aroma compounds from red and black rice bran. J. Oleo Sci. 58: 155-161. 7) Chockchai Theerakulkait and Sukhontha Sukhonthara. 2008. Effect of pineapple juice pineapple shell extract and rice bran extract on browning in banana [Musa (AAA Group) ‘Gros Michel’] slices and puree. Kasetsart J. 42: 150-155. 8) สุคนธา สุคนธ์ธารา กรรณิการ์ ศรีแสนตอ ณัฐรัตน์ ศรีสังวาลย์ และสุภัสสร ฉ่ำฮวบ. 2559. ผลของการทดแทนน้ำตาลโตนดด้วยมอลทิทอลในขนมหม้อแกงเสริมธัญพืช. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยนครปฐม ครั้งที่ 8. 31 มีนาคม-1 เมษายน 2559.มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จังหวัดนครปฐม. (in press). 9) จินดาภรณ์ แซ่จัง สุคนธา สุคนธ์ธารา และ พูนศิริ ทิพย์เนตร. 2559. ผลการยับยั้งการเกิดสีน้ำตาลด้วยน้ำแตงกวาในกระท้อน ชมพู่ และมะเขือยาวบด. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยนครปฐม ครั้งที่ 8. 31 มีนาคม-1 เมษายน 2559.มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จังหวัดนครปฐม. (in press).
|
Conference Abstracts | 1) Sukhontha Sukhonthara. 2015. Consumer Acceptance for Low Glycemic index Thai Rice Cake. The 2nd International Conference on Innovation in Education (ICIE2015). 16-18 March, 2015, Mahidol University, Nakhon Pathom, Thailand. 2) Sukhontha Sukhonthara. 2015. Consumer Acceptance for Germinated Brown Rice Cookie. The 2nd International Conference on Innovation in Education (ICIE2015). 16-18 March, 2015, Mahidol University, Nakhon Pathom, Thailand. 3) Sukhontha Sukhonthara Aunchalee Meekong Kanchana Pongjinda and Kridsada Homkesorn. 2014. Effect of maltitol on quality of low sugar cookies. The 1st National Conference on Science Education to Inspire Innovation 2014 (NCSEII 2014). 5-6 September, 2014, Rajabhat Phetchaburi University, Phetchaburi, Thailand. 4) Poonsiri Thipnate and Sukhontha Sukhonthara. 2010. Effect of guava extract on browning prevention in banana puree. The 1st Kamphang-Saen International Natural Product Symposium. 23-24 October, 2010, Swissotel Le Concorde Hotel, Bangkok, Thailand.
|
| ชือ : | ผศ.ดร.สุดารัตน์ ไชยเฉลิม
|
วุฒิการศึกษา : | วท.บ.(เทคโนโลยีชีวภาพ) | |
เบอร์โทรศัพท์ : | 032-493-266 | |
อีเมล์ : | sudarat.cha@mail.pbru.ac.th |
ทุนการศึกษา (Scholarship):
2007-2010 The Royal Golden Jubilee Ph.D program Scholarship
ประสบการณ์ทำวิจัย (Research Experience):
2010-2011 Research Fellowship at School of Engineering, Department of Biological and Agricultural Engineering, Kansas State University, USA
รางวัลที่ได้รับ (Award):
1. รางวัลเกียรติยศแก่ผู้สำเร็จการศึกษาที่มีผลการศึกษายอดเยี่ยม (Dean’s List) มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปีการศึกษา 2554
2. รางวัลเผยแพร่ผลงานวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปีการศึกษา 2554
ประสบการณ์ทำงาน (Work Experience):
– พ.ศ. 2549 – 2550 เจ้าหน้าที่สนับสนุนทางด้านเทคนิคและประสานงานทางด้านสิ่งแวดล้อม (Technical support and Environmental Coordinator) บริษัทวีโอเลีย วอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด
– พ.ศ. 2552 – ปัจจุบัน อาจารย์พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
บทความตีพิมพ์ (Publication):
1) Chaichalerm, S., Inthorn, D., Ruengjitchatchawalya, M., and Pokethitiyook, P.(2006). Cadmium removal by immobilized Scytonema sp. and Hapalosiphon hibernicus. Pollution research. 25(3) : 597- 607.
2) Chaichalerm, S., P. Pokethitiyook, W. Yuan, M. Meetam, K. Srithong, W. Pugkaew, K. Kungvansaichol, M. Kruatrachue, P. Damrongphol. 2011. Culture of microalgal strains isolated from natural habitats in Thailand in various enriched media. Applied Energy 89: 296-302.
3) วาสนา รามการุณ อัจฉรา อ่วมเครือและสุดารัตน์ ไชยเฉลิม. การพัฒนาระบบการจ่ายยาผู้ป่วยในเพื่อลดความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา โรงพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี. วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา. ฉบับที่ 3 ก.ย.-ธ.ค.2556 หน้า 62-72
4) สมศักดิ์ ฉันทนารมณ์ และ สุดารัตน์ ไชยเฉลิม. แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน. ฉบับที่ 1 ม.ค – มิ.ย. 2557 หน้า 36-47
5) โศภชา เพนวิมล ปัทมาพร ยอดสันติ และ สุดารัตน์ ไชยเฉลิม. รูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนเพื่อก้าวเข้าสู่สังคมคาร์บอนต่ำ: กรณีศึกษา เทศบาลตำบลบ้านลาด อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 11 ฉบับพิเศษ เดือน พฤศจิกายน 2559 หน้า 153 – 162
การนำเสนอในที่ประชุม (Proceeding)
1) Sudarat Chaichalerm, Prayad Pokethitiyook, Metha Meetam, Maleeya Kruatrachue, Kunn Kungvansaichol and Wenqiao Yuan. Screening Microalgae for Biodiesel Production in Thailand. RGJ-Ph.D. Congres XI“Research Towards Sustainability” April 1 – 3, 2010,Jomtien Palm Beach Hotel & Resort, Pattaya, Chonburi,Thailand
2) Chaichalerm S, Pokethitiyook P, Yuan W, Meetam M, Kungvansaichol K, Kruatrachue M. Development of microalgae as raw material for biodiesel production. Proceeding in the 37th Congress on Science and Technology of Thailand, October 10-12,2011, Centara grand & Bangkok convention centre at central world, Bangkok,Thailand.
3) Sudarat Chaichalerm, Prayad Pokethitiyook, Metha Meetam, Maleeya Kruatrachue, Kunn Kungvansaichol and Wenqiao Yuan. Optimization of Chlorococcum humicola for biodiesel production. 8th Asia-Pacific Conference on Algal Biotechnology and 1st International Conference on Coastal Biotechnology, July 9-12 2012, Adelaid, Australia
4) Sudarat Chaichalerm, Prayad Pokethitiyook, Metha Meetam, Maleeya Kruatrachue, Kunn Kungvansaichol and Wenqiao Yuan. Large scale production of Chlorococcum humicola in race way pond and flat panel photobioreactor for biodiesel production. 2nd Asia-Oceania Algae Innovation Summit Algae for Sustainable Development, September 3-5, 2012, Royal Orchid Sheraton Hotel & Towers, Bangkok, Thailand.
5) Thaksina Chimthong Areerat Reungsilp and Sudarat Chaichalerm. The Effect of Intensive White Shrimp Culture Pond on Water Quality in Bangkrok Sub-District Area, Ban Laem District, Phetchaburi Province. 2nd Thai Environmental Education Congress Living in a Changing World, 7-9 December, 2012, Roi-et, Thailand
6) Sudarat Chaichalerm , Supada Khunnarong, Sureerat Temawat, Sittichai Kaewubon, Jirapong Thongtew and Thanongsak Pinket. Biodiversity and Carbondioxide Absorption of Mangrove Forest in Phetchaburi, Samutsongkram and Prachuapkhirikhun Province of Thailand. The Fourth Annual Asian Conference on Sustainability, Energy and Environment, June 12-15 2014, Osaka, Japan (acsee 2014)
7) Monvanee Choopoo and Sudarat Chaichalerm. Processes for Reducing Pesticide Usage of Farmers in Nongkhanan Sub-District, Muang District, Phetchaburi Province, Thailand. The Fifth Asian Conference on the Social Sciences, June 12-15 2014, Osaka, Japan (acss 2014)
8) คธาวุฒิ สมทรง เพชรดา อาจขาว เมทินี อรุณคีรีโรจน์ มณีรัตน์ พูลสวน สุภาดา ขุนณรงค์สุรีรัตน์ เทมวรรธน์ และ สุดารัตน์ ไชยเฉลิม. การวิเคราะห์คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของดินก่อนและหลังการปลูกต้นกระถินยักษ์ในพื้นที่ ตำบลท่าแลง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี. การประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาศาสตร์ศึกษาเพื่อสร้างแรงบันดาลใจสู่นวัตกรรม ครั้งที่ 1 วันที่ 5-6 กันยายน พ.ศ. 2557 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
9) ขนิษฐา คล่องดี นัยนา หวานใจ ชิตชมัย มีศิริ พัชรพร ทองรอด สุรีรัตน์ เทมวรรธน์ และ สุดารัตน์ ไชยเฉลิม. การกักเก็บคาร์บอนของมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของพันธุ์ไม้ในป่าชุมชนหมู่บ้านถ้ำเสือ อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มศรีอยุธยา ครั้งที่ 7 วันที่ 7-8 กรกฏาคม 2559 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
10) สุปาณี ปิ่นเพชร ภคพร โชควิบูลย์ และ สุดารัตน์ ไชยเฉลิม. ความหลากชนิดของพันธุ์ไม้ในป่าชุมชนหมู่บ้านถ้ำเสือ อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มศรีอยุธยา ครั้งที่ 7 วันที่ 7-8 กรกฏาคม 2559 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
11) ปุณยวีย์ วารีย์ มิ่งกมล ทัดอู๋ อสมาภรณ์ บัวทอง และ สุดารัตน์ ไชยเฉลิม. คุณสมบัติทางเคมีของดินในพื้นที่วนเกษตร หมู่บ้านถ้ำเสือ ตำบลแก่งกระจาน อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี.การประชุมวิชาการระดับชาติราชภัฏเพชรบุรีวิจัยเพื่อแผ่นดินไทยที่ยั่งยืน ครั้งที่ 6 วันเสาร์ ที่ 9 กรกฎาคม 2559 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
12) สมหญิง สีม่วง เสาวลักษณ์ คำจันทร์ สุภาดา ขุนณรงค์ สุรีรัตน์ เทมวรรธ์ และสุดารัตน์ ไชยเฉลิม. การศึกษาคุณภาพทางเคมีของดิน ในพื้นที่วนเกษตร หมู่บ้านถ้ำเสือ ตำบลแก่งกระจาน อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี. การประชุมวิชาการ โครงการนำเสนอผลงานทางวิชาการ ระดับปริญญาบัณฑิต ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ครั้งที่ 4 วันที่ 30-31 มีนาคม 2560 ณ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
13) ภัทราวดี ประพันธ์พจน์ ณัฐวดี อุทัยธรรม ธนัชพร สุวรรณานุสรณ์ สุภาดา ขุนณรงค์สุรีรัตน์ เทมวรรธน์ และ สุดารัตน์ ไชยเฉลิม. การศึกษาปริมาณคาร์บอนในดินของพื้นที่วนเกษตรและป่าชุมชน หมู่บ้านถ้ำเสือ ตำบลแก่งกระจาน อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี. การประชุมวิชาการ โครงการนำเสนอผลงานทางวิชาการ ระดับปริญญาบัณฑิต ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ครั้งที่ 4 วันที่ 30-31 มีนาคม 2560 ณ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
14) ภิญโญ หงส์ทอง และสุดารัตน์ ไชยเฉลิม. ผลของโปรแกรมทางพฤติกรรมศาสตร์ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือนตำบลพงศ์ประศาสน์ อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 8 วันที่ 16 มีนาคม 2560 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร
ประสบการณ์การสอน (Teaching Experience)
– เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสีย 1
– เทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสีย 2
– เทคโนโลยีการควบคุมมลพิษทางอากาศ
– เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม
– เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
– พลังงานและการจัดการ
– เทคโนโลยีสะอาดและระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม
– โลกของเรากับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
– วิทยาศาสตร์กับชีวิต
– การวิจัยวิทยาศาสตร์
– การวิจัยเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม
– อาชีวอนามัยและอนามัยสิ่งแวดล้อม
– สัมมนาสาธารณสุขศาสตร์
– วิทยานิพนธ์
|
|
1. ตำรา/เอกสารประกอบการสอน
–
2. ผลงานวิจัย/ประสบการณ์ในการวิจัย
2.1 การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ขนมหม้อแกงของกลุ่มแม่บ้านห้วยโรง อำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี ได้รับทุนของ สกอ. (สำเร็จเป็นฉบับสมบูรณ์ ปี 2548)
2.2 โครงการวิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดกระบวรการเรียนการสอนให้นักศึกษามีความสามารถสู่ธุรกิจขนมไทย จังหวัดเพชรบุรี ได้รับทุนของ สกว. (สำเร็จเป็นฉบับสมบูรณ์ ปี 2553)
3. ประสบการณ์การทำงาน
3.1 การฝึกอบรม
4. ประสบการณ์การสอน/วิชาที่เคยสอน
4.1 การจัดดอกไม้
4.2 การสัมมนา
4.3 การออกแบบบรรจุภัณฑ์
|
ประสบการณ์การทำงาน/การฝึกอบรม/ความเชี่ยวชาญ/วิชาที่สอน | ||
ด้าน | รายละเอียด | หมายเหตุ |
อาหารไทย ขนมไทย | เป็นกรรมการทดสอบด้านการประกอบอาหารไทยระดับ 1 ของกรมฝีมือแรงงาน | จังหวัดเพชรบุรี /ประจวบคีรีขันธ์ |
วิทยากรด้าน ขนมไทย และอาหารไทย | ทั้งในจังหวัดและต่างจังหวัด | |
บริหาร | ประธานสาขาเทคโนโลยีและศิลปะการประกอบอาหาร | ปี 2557 -2558 |
ผลงานทางวิชาการ
| ||
ประเภทผลงาน
| ชื่อผลงาน | ข้อมูลรายละเอียด
|
งานวิจัย | ตำรับอาหารและคุณค่าทางโภชนาการของอาหารท้องถิ่นลาวโซ่ง อำเภอ เขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี ได้รับแหล่งทุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ปี 2550-2551 |
|
| โครงการพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนการสอนให้นักศึกษามีความสามารถสู่ธุรกิจขนมไทย และเบเกอรี่ จังหวัดเพชรบุรี ได้รบแหล่งทุนจาก สกว. ปี 2552-2553 |
|
| การพัฒนาขนมหวานเมืองเพชรเพื่อสุขภาพ ได้รับแหล่งทุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ปี 2553-2554 |
|
| การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำตาลสดเกร็ดหิมะ ได้รับแหล่งทุนจาก สกอ. ปี 2554-2555 |
|
| การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไอศกรีมเชอร์เบทลูกหว้า 2556 |
|
| การพัฒนาผลิตภัณฑ์กระยาสาทรสุขภาพ 2556 |
|
| การผลิตลมร้อนด้วยเตาชีวมวลสำหรับกระบวนการอบแห้งผลิตภัณฑ์ชุมชน ได้รับทุนสนับสนุนจาก สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ ปี 2558 |
|
| การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวพื้นเมืองของชุมชนกระเหรี่ยง ปกาเกอะญอ ในพื้นที่สูงตามแนวตะเข็บชายแดนไทย-พม่า จังหวัด ราชบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ ได้รับทุนสนับสนุน จาก สำนักส่งเสริมการวิจัยในอุดมศีกษา ปี 2558 | 8 กุมภาพันธ์ 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี |
|
|
ผลงานทางวิชาการ/ผลงานวิจัยและประสบการณ์
ด้าน | รายละเอียด |
วิทยาการ | ฝึกอบรมทักษะฝีมือแรงงานด้านผู้ช่วยพ่อครัว-แม่ครัวอาหารไทยระดับ 1 |
กรรมการ | ด้านทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานด้านผู้ช่วยพ่อครัว-แม่ครัว อาหารไทยระดับ 1 ของศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน จ.เพชรบุรี ตั้งแต่ปี 2549-ปัจจุบัน |
กรรมการ | ด้านทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานด้านอาหารและเครื่องดื่มของศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน จ.เพชรบุรี ตั้งแต่ปี 2550 – ปัจจุบัน |
การสอนรายวิชา | ความรู้เกี่ยวกับอาหารไทย |
เอกสาร | คู่มืออบรมฝีกมือแรงงานด้านอาหารไทย |
งานวิจัย | การพัฒนาสูตรขนมหม้อแกงของกลุ่มแม่บ้านห้วยโขง อ.เขาย้อย จ.เพชรบุรี ปีพ.ศ 2547 |
หม้อแกงนมสด ร่วมกับศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ปีพ.ศ.2546 | |
การพัฒนาสูตรข้าวตูไรซ์เบอรี่ของกลุ่มผู้ทำข้าวตูจังหวัดเพชรบุรี ปี พ.ศ.2558 |