Home หลักสูตร หลักสูตร : สาขาวิชาเคมี (ค.บ.)

หลักสูตร : สาขาวิชาเคมี (ค.บ.)

by ปิยนันท์ เสนะโห
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หลักสูตร : สาขาวิชาเคมี (ค.บ.)

ชื่อหลักสูตร

               วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี
               Bachelor of Science in Chemistry

ชื่อปริญญา

               ชื่อเต็ม   : วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี)
                                : Bachelor of Science (Chemistry)
               ชื่อย่อ    : วท.บ. (เคมี)
                               : B.Sc. (Chemistry)

จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร  :  ไม่น้อยกว่า 138 หน่วยกิต

กิจกรรมเสริมหลักสูตร     :   กิจกรรมชุมนุม การพัฒนาบุคลิกภาพ กิจกรรมด้านกีฬาและส่งเสริมสุขภาพ กิจกรรมพัฒนาความสามารถด้านภาษาอังกฤษ คอมพิวเตอร์ กิจกรรม อบรมเสริมอาชีพ อบรมการใช้เครื่องมือวิทย์

การจัดการศึกษา           :
    เปิดสอนภาคปกติ

ระยะเวลาตลอดหลักสูตร  :
    4 ปี (ไม่น้อยกว่า 6 ภาคการศึกษา)

ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร  :
    80,000 – 88,000 บาท

โครงสร้างหลักสูตร :
     1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต
         •  กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร 
         •  กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 
         •  กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 
         •  กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
     2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า 102 หน่วยกิต
         •  วิชาแกน 33 หน่วยกิต
         •  วิชาเฉพาะบังคับ 56 หน่วยกิต
         •  วิชาเฉพาะเลือก 13 หน่วยกิต
     3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
     4. การฝึกงาน ไม่น้อยกว่า 240 ชั่วโมง (ไม่นับหน่วยกิต)

ตัวอย่างรายวิชาที่เรียน

–          เคมีอนินทรีย์ 1

–        ปฏิบัติการชีวเคมี 1

–          ปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์ 1

–        ปฏิบัติการชีวเคมี 2

–          ความปลอดภัยจากสารเคมี

–        การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 2

–          เคมีอนินทรีย์ 2

–        สเปกโทรสโกบีของสารอินทรีย์

–          ปฏิบัติการเคมีอนินทรีย์ 2

–        การปฏิบัติการวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 2

–          เคมีอินทรีย์ 1

–        โครงการวิจัยทางเคมี

–          ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 1

–        ปฏิบัติการเคมีเชิงฟิสิกส์ 1

–          เคมีอินทรีย์ 2

–        ปฏิบัติการเคมีเชิงฟิสิกส์ 2

–          ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 2

–        ชีวเคมี 1

–          เคมีเชิงฟิสิกส์ 1

–        การวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ 1

–          เคมีเชิงฟิสิกส์ 2

–        ชีวเคมี 2

–          เคมีวิเคราะห์

–        การปฏิบัติการวิเคราะห์ทางเคมีด้วยเครื่องมือ1

–          ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์

–        การเตรียมฝึกประสบการณ์

–          สัมมนาเคมี

–        การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

–          การวิจัยเคมี

 
  


คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
     1. สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า

บัณฑิตสาขาวิชาคณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ทำงานอะไรได้บ้าง ?

     1. ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมได้หลายตำแหน่ง เช่น นักวิเคราะห์ทางเคมี  นักวิจัย นักควบคุมคุณภาพ เป็นต้น
     2. ทำงานทั้งหน่วยงานราชการและบริษัทเอกชน
     3. ครู/อาจารย์ในสถานศึกษาต่างๆ
     4. ประกอบอาชีพอิสระ